Disable copy

Monday 30 December 2019

[PDF][VIDEO]แนว ข้อสอบเตรียมทหาร ข้อสอบนายร้อย วิชาคณิตศาสตร์ ม.ปลาย เรื่อง ความสัมพันธ์ พร้อมวิดีโอสอน เฉลย ละเอียด

ในการนี้ถ้าผู้หนึ่งผู้ใดได้รับผลกระทบจากการกระทำของพี่ คิดว่าส่วนหนึ่งส่วนใดไม่เหมาะสมหรือ ละเมิดสิทธิ์ผู้อื่น หรือทำให้ผู้อื่นได้รับผลกระทบในทางตรงและทางอ้อม และต้องการให้ลบหรือว่านำออกช่วยแจ้งให้ทางพี่ทราบได้เสมอนะครับ ด้วยความยินดีมากๆนะครับ

ข้อสอบเตรียมทหาร นักเรียนายร้อย นายร้อย วิชาคณิตศาสตร์ ม.ปลาย เรื่อง ความสัมพันธ์ จำนวน 20 ข้อ พร้อมวิดีโอเฉลย .pdf



ข้อสอบชุดนี้แยกชุดไว้ให้น้องฝึกฝน หัดทำได้ด้วยตัวเอง และสามารถเรียนรู้ไปพร้อมๆกับที่พี่สอนได้ทาง YouTube นะครับ น้องๆสามารถดาวน์โหลดและนำไปปริ้น และมานั่ง ตามวิดีโอที่พี่สอน ถ้าข้อไหนผิดพลาดประการใด ฝากแจ้งพี่ได้ทางคอมเมนต์ด้วยนะครับ เพื่อที่จะได้นำไปปรับปรุงให้ดียิง่ขึ้นครับ


ดูวิดีโอเฉลย ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.ปลาย เรื่อง ความสัมพันธ์ จำนวน 20 ข้อ
คลิ๊กวิดีโอที่ 1
คลิ๊กวิดีโอที่ 2


ถ้าน้องๆ ไม่อยากพลาดข่าวสารสำคัญ หรือแบบทดสอบ ข้อสอบชุดดีๆ ฝากกดติดตามพี่ได้ที่ช่องด้านขวามือนะ ทั้ง Facebook YouTube และก็ Line นะครับ

ถ้าชอบฝากกดแชร์ คอมเมนต์เพื่อเป็นกำลังใจกันด้วยนะครับ
ถ้าสนใจข้อมูลเพิ่มเติมสามารถติดตามเราได้ที่



Sunday 22 December 2019

[PDF][VIDEO]ข้อสอบเตรียมทหาร ข้อสอบนายร้อย จปร. วิชาภาษาอังกฤษ พ.ศ. 2539 พร้อมวิดีโอสอน เฉลย ละเอียด

ในการนี้ถ้าผู้หนึ่งผู้ใดได้รับผลกระทบจากการกระทำของพี่ คิดว่าส่วนหนึ่งส่วนใดไม่เหมาะสมหรือ ละเมิดสิทธิ์ผู้อื่น หรือทำให้ผู้อื่นได้รับผลกระทบในทางตรงและทางอ้อม และต้องการให้ลบหรือว่านำออกช่วยแจ้งให้ทางพี่ทราบได้เสมอนะครับ ด้วยความยินดีมากๆนะครับ

ข้อสอบเตรียมทหาร นักเรียนายร้อย จปร. พ.ศ. 2539 วิชาภาษาอังกฤษ  จำนวน 15 ข้อ พร้อมวิดีโอเฉลย .pdf 



ข้อสอบชุดนี้แยกชุดไว้ให้น้องฝึกฝน หัดทำได้ด้วยตัวเอง และสามารถเรียนรู้ไปพร้อมๆกับที่พี่สอนได้ทาง YouTube นะครับ น้องๆสามารถดาวน์โหลดและนำไปปริ้น และมานั่ง ตามวิดีโอที่พี่สอน ถ้าข้อไหนผิดพลาดประการใด ฝากแจ้งพี่ได้ทางคอมเมนต์ด้วยนะครับ เพื่อที่จะได้นำไปปรับปรุงให้ดียิง่ขึ้นครับ


น้องๆสามารถเข้าไปดูวิดีโอสอนได้ตามลิงก์ด้านล่างนี้นะครับ

วิดีโอสอน วิชาภาษาอังกฤษ
คลิ๊กวิดีโอ


ถ้าน้องๆ ไม่อยากพลาดข่าวสารสำคัญ หรือแบบทดสอบ ข้อสอบชุดดีๆ ฝากกดติดตามพี่ได้ที่ช่องด้านขวามือนะ ทั้ง Facebook YouTube และก็ Line นะครับ

ถ้าชอบฝากกดแชร์ คอมเมนต์เพื่อเป็นกำลังใจกันด้วยนะครับ
ถ้าสนใจข้อมูลเพิ่มเติมสามารถติดตามเราได้ที่




[PDF][VIDEO]แนว ข้อสอบเตรียมทหาร ข้อสอบนายร้อย วิชาคณิตศาสตร์ ม.ปลาย เรื่อง ตรรกศาสตร์ พร้อมวิดีโอสอน เฉลย ละเอียด

ในการนี้ถ้าผู้หนึ่งผู้ใดได้รับผลกระทบจากการกระทำของพี่ คิดว่าส่วนหนึ่งส่วนใดไม่เหมาะสมหรือ ละเมิดสิทธิ์ผู้อื่น หรือทำให้ผู้อื่นได้รับผลกระทบในทางตรงและทางอ้อม และต้องการให้ลบหรือว่านำออกช่วยแจ้งให้ทางพี่ทราบได้เสมอนะครับ ด้วยความยินดีมากๆนะครับ

ข้อสอบเตรียมทหาร นักเรียนายร้อย นายร้อย วิชาคณิตศาสตร์ ม.ปลาย เรื่อง ตรรกศาสตร์ จำนวน 20 ข้อ พร้อมวิดีโอเฉลย .pdf



ข้อสอบชุดนี้แยกชุดไว้ให้น้องฝึกฝน หัดทำได้ด้วยตัวเอง และสามารถเรียนรู้ไปพร้อมๆกับที่พี่สอนได้ทาง YouTube นะครับ น้องๆสามารถดาวน์โหลดและนำไปปริ้น และมานั่ง ตามวิดีโอที่พี่สอน ถ้าข้อไหนผิดพลาดประการใด ฝากแจ้งพี่ได้ทางคอมเมนต์ด้วยนะครับ เพื่อที่จะได้นำไปปรับปรุงให้ดียิง่ขึ้นครับ


น้องๆสามารถเข้าไปดูวิดีโอสอนได้ตามลิงก์ด้านล่างนี้นะครับ

วิดีโอสอน วิชาคณิตศาสตร์ ม. ปลาย เรื่อง ตรรกศาสตร์ ตอนที่ 1
คลิ๊กวิดีโอ

วิดีโอสอน วิชาคณิตศาสตร์ ม. ปลาย เรื่อง ตรรกศาสตร์ ตอนที่ 2
คลิ๊กวิดีโอ

ตารางแทนค่าความจริงของประพจน์


$p$ $q$ $p\wedge q$ $p\vee q$ $p\to q$ $p\leftrightarrow q$ $\sim q$
$T$ $T$ $T$ $T$ $T$ $T$ $F$
$T$ $F$ $F$ $T$ $F$ $F$ $T$
$F$ $T$ $F$ $T$ $T$ $F$ $-$
$F$ $F$ $F$ $F$ $T$ $T$ $-$


ประพจน์ที่สมมูลกัน คือประพจน์ 2 ประพจน์ใดก็ตามที่ทั้งสองประพจน์นั้นมีค่าความจริงเหมือนกันทุกประการ และประพจน์ที่สมมูลกันและเราได้พบในข้อสอบบ่อยๆนั้น และน่าสนใจมีดังนี้

$\sim (p\wedge q)\equiv \sim p\vee \sim q$

$\sim (p\vee q)\equiv \sim p\wedge \sim q$

$\sim(p\to q)\equiv p\wedge\sim q$

$\sim (p\leftrightarrow q)\equiv p\leftrightarrow\sim q$

$\sim (p\leftrightarrow q)\equiv \sim p\leftrightarrow q$

$\sim (p\leftrightarrow q)\equiv (p\wedge \sim q)\vee (q\wedge\sim p)$

$\sim(\sim p)\equiv p$

$p\to q\equiv \sim q\to \sim p$

$p\leftrightarrow q\equiv (p\to q)\wedge (q\to p)$

$p\wedge (q\vee r)\equiv (p\wedge q)\vee (p\wedge r)$

$p\vee (q\wedge r)\equiv (p\vee q)\wedge (p\vee r)$

$p\to q\not\equiv q\to p$

ถ้าน้องๆ ไม่อยากพลาดข่าวสารสำคัญ หรือแบบทดสอบ ข้อสอบชุดดีๆ ฝากกดติดตามพี่ได้ที่ช่องด้านขวามือนะ ทั้ง Facebook YouTube และก็ Line นะครับ

ถ้าชอบฝากกดแชร์ คอมเมนต์เพื่อเป็นกำลังใจกันด้วยนะครับ
ถ้าสนใจข้อมูลเพิ่มเติมสามารถติดตามเราได้ที่



Thursday 19 December 2019

[PDF][VIDEO]แนว ข้อสอบเตรียมทหาร ข้อสอบนายร้อย วิชาคณิตศาสตร์ ม.ต้น เรื่อง สถิติ พร้อมวิดีโอสอน เฉลย ละเอียด

ในการนี้ถ้าผู้หนึ่งผู้ใดได้รับผลกระทบจากการกระทำของพี่ คิดว่าส่วนหนึ่งส่วนใดไม่เหมาะสมหรือ ละเมิดสิทธิ์ผู้อื่น หรือทำให้ผู้อื่นได้รับผลกระทบในทางตรงและทางอ้อม และต้องการให้ลบหรือว่านำออกช่วยแจ้งให้ทางพี่ทราบได้เสมอนะครับ ด้วยความยินดีมากๆนะครับ

ข้อสอบเตรียมทหาร นักเรียนายร้อย นายร้อย วิชาคณิตศาสตร์ ม.ปลาย เรื่อง สถิติ จำนวน 30 ข้อ พร้อมวิดีโอเฉลย .pdf



ข้อสอบชุดนี้แยกชุดไว้ให้น้องฝึกฝน หัดทำได้ด้วยตัวเอง และสามารถเรียนรู้ไปพร้อมๆกับที่พี่สอนได้ทาง YouTube นะครับ น้องๆสามารถดาวน์โหลดและนำไปปริ้น และมานั่ง ตามวิดีโอที่พี่สอน ถ้าข้อไหนผิดพลาดประการใด ฝากแจ้งพี่ได้ทางคอมเมนต์ด้วยนะครับ เพื่อที่จะได้นำไปปรับปรุงให้ดียิง่ขึ้นครับ



น้องๆสามารถเข้าไปดูวิดีโอสอนได้ตามลิงก์ด้านล่างนี้นะครับ

วิดีโอสอน วิชาคณิตศาสตร์ ม. ต้น เรื่อง สถิติ ตอนที่ 1
คลิ๊กวิดีโอ

วิดีโอสอน วิชาคณิตศาสตร์ ม. ต้น เรื่อง สถิติ ตอนที่ 1
คลิ๊กวิดีโอ

วิดีโอสอน วิชาคณิตศาสตร์ ม. ต้น เรื่อง สถิติ ตอนที่ 1
คลิ๊กวิดีโอ


ถ้าน้องๆ ไม่อยากพลาดข่าวสารสำคัญ หรือแบบทดสอบ ข้อสอบชุดดีๆ ฝากกดติดตามพี่ได้ที่ช่องด้านขวามือนะ ทั้ง Facebook YouTube และก็ Line นะครับ

ถ้าชอบฝากกดแชร์ คอมเมนต์เพื่อเป็นกำลังใจกันด้วยนะครับ
ถ้าสนใจข้อมูลเพิ่มเติมสามารถติดตามเราได้ที่




Wednesday 18 December 2019

สอบเตรียมทหาร สอบนายร้อย พร้อมเฉลยละเอียด ข้อสอบวิชาฟิสิกส์ เรื่อง สมดุลกล

สอบเตรียมทหาร สอบนายร้อย วิชาฟิสิกส์ เรื่อง สมดุลกล พร้อมเฉลยละเอียด


ข้อ 1 จากรูป คานรับน้ำหนัก ยาว $L$ และมีมวล $m=1.8\; kg$ วางนิ่งอยู่บนตาชั่งสองอัน แล้วมีท่อนไม้มวล $M=2.7\; kg$ วางนิ่งอยู่บนคานรับน้ำหนัก โดยจุดศูนย์กลางของท่อนไม้ ห่างจากคานรับน้ำหนักทางด้านซ้ายเป็นระยะ $\dfrac{L}{4}$ จงหาว่าตาชั่งแต่ละข้างจะอ่านค่าได้เท่าใด (กำหนดให้ค่า $g=9.8\; m/s^2$)


1) ซ้าย $20\; N$ ขวา $10\; N$     2) ซ้าย $2.9\; N$ ขวา $1.5\; N$
2) ซ้าย $29\;N$ ขวา $15\; N$      4) ซ้าย $2.0\; N$ ขวา $1.0\; N$

เฉลยวิธีทำอย่างละเอียด

อันดับแรกก่อนที่เราจะเริ่มแก้ปัญหาของโจทย์เราต้องกำหนดว่า ระบบที่เราต้องการจะนำมาวิเคราะห์ คือส่วนไหน โดยการวาดรูป free-body diagram ของมันตามรูปด้านล่างนี้ โดยเราจะแสดงแรงทุกแรงที่เกิดขึ้น ในระบบ โดยเราเลือกระบบที่ประกอบไปด้วย คานรับน้ำหนัก ท่อนไม้ โดยแรงของระบบนั้นแสดงด้วยภาพทางด้านล่างนี้ เนื่องจากระบบนี้เป็น สมดุลสถิต ที่วัตถุหยุดนิ่ง เราจึงทำการสมดุลแรง ด้วยสมการ $F_x=0$ และ $F_y=0$ ทั้งแกน $x$ และแกน $y$ และสมดุลแรงหมุนด้วยสมการ $T_z =0$


วิธีคำนวณ
แรงปกติบนคานรับน้ำหนัก คือแรงที่มาจากตาชั่งคือแรง $\overset{\rightarrow}{F}_l$ ทางด้านซ้าย และแรง $\overset{\rightarrow}{F}_r$ ทางด้านขวา และค่าที่อ่านได้จากตาชั่งจะมีขนาดเท่ากับแรงสองแรงนี้ แรงดึงดูดที่กระทำต่อคานรับน้ำหนัก $\overset{\rightarrow}{F}_{g,\text{คาน}}$ บนจุดศูนย์กลางมวลของคาน และมีค่าเท่ากับ $m\overset{\rightarrow}{g}$ เช่นเดียวกันกับ แรงดึงดูดที่กระทำต่อท่อนไม้ คือ $\overset{\rightarrow}{F}_{g,\text{ท่อนไม้}}$ บนจุดศูนย์กลางมวลของท่อนไม้จะมีค่าเท่ากับ $M\overset{\rightarrow}{g}$ อย่างไรก็ตามตามรูป ท่อนไม้จะถูกแสดงอยู่ในรูปของจุดซึ่งอยู่ภายในคานรับน้ำหนัก และ vector แรงของ $\overset{\rightarrow}{F}_{g,\text{ท่อนไม้}}$ จะถูกเขียนให้ห่างของแรงนั้นอยู่ที่จุดดังรูป

ในแนวแกน $x$ นั้นไม่มีแรงที่กระทำตามรูป เพราะฉะนั้นเราจะได้สมดุลตามแนวแกน $y$ ดังนี้

$F_l+F_r-Mg-mg=0$

จากสมการด้านบนนี้ เรายังไม่ทราบตัวแปลอยู่สองตัว คือ แรง $F_l$ และ แรง $F_r$ เราจึงต้องใช้สมการ $T_z=0$ เป็นสมการของ สมดุลแรงหมุน ตามแนวระนาบของรูป ต่อไปเราจะทำการเลือกแกนหมุนทางด้านซ้ายของคานรับน้ำหนัก โดยเราควรกำหนดเครื่องหมายของแรงหมุนนั้น โดยใช้กฎพื้นฐานง่ายๆคือ ถ้าแรงหมุนนั้นผ่านแกนหมุนที่วัตถุหยุดนิ่ง และกระทำกับวัตถุในทิศทางตามเข็มนาฬิกาแรงนั้นจะแสดงค่าเป็นลบ หรือถ้าแรงนั้นมีทิศทาง ทวนเข็มนาฬิกา แรงหมุนนั้นจะแสดงค่าเป็นบวก สุดท้ายเราจะเขียนแรงหมุนในรูปแบบได้ดังนี้ $r_\perp F$ โดยแสดงแยกเป็นแรงต่างๆได้ดังนี้

  • $r_\perp$ นั้นคือ $0$ สำหรับแรง $F_l$
  • $\dfrac{L}{4}$ สำหรับ $M\overset{\rightarrow}{g}$
  • $\dfrac{L}{2}$ สำหรับ $m\overset{\rightarrow}{g}$
  • $L$ สำหรับ $\overset{\rightarrow}{F}_r$
สุดท้ายจะสามารถเขียนสมการของสมดุลของแรงหมุนได้ดังนี้

$(0)(F_l)-(\dfrac{L}{4})(Mg)-(\dfrac{L}{2})(mg)+(L)(F_r) =0$

แทนค่าตามที่โจทย์กำหนดให้

$F_r = \dfrac{1}{4}Mg+\dfrac{1}{2}mg$

$=\dfrac{1}{4}(2.7\; kg)(9.8\; m/s^2)+\dfrac{1}{2}(1.8\; kg)(9.8\; m/s^2)$

$=15.44\; N \approx 15\; N$

ใช้หลักการณ์เดียวกันกับ $F_r$ เพื่อหาค่าของ $F_l$ ได้ดังนี้

$F_l = (M+m)g-F_r$

$= (2.7\; kg+1.8\; kg)(9.8\; m/s^2)- 15.44\; N$

$=28.66\; N \approx 29\; N$

ตอบ ซ้าย $29\; N$ ขวา $15\; N$

Tuesday 17 December 2019

สอบเตรียมทหาร สอบนายร้อย พร้อมเฉลยละเอียด ข้อสอบวิชาฟิสิกส์ เรื่อง แรง มวล และการเคลื่อนที่

สอบเตรียมทหาร สอบนายร้อย วิชาฟิสิกส์ เรื่อง แรง มวล การเคลื่อนที่ พร้อมเฉลยละเอียด


ข้อ 1  จากรูป รถยนต์ $A$ เกิดอุบัติเหตุกับรถยนต์ $B$ โดยรถยนต์ $A$ เลื่อนไปโดนท้ายรถยนต์ $B$ โดยรถยนต์ $B$ นั้นจอดนิ่งที่ไฟแดงที่ถนนนั้นมุ่งลงไปยังหุบเขา โดยเราสามารถหา slope ถนนที่มุ่งหน้าลงหุบเขา ได้มุม $12.0^\circ$ และรถทั้งสองคันถูกแยกห่างออกจากัน $d=24.0\; m$ เมื่อคนขับรถยนต์ $A$ หยุดรถแต่รถยังคงเลื่อนไปข้างหน้าด้วยความเร็วต้น $v_0=18.0\; m/s$ จงหาความเร็วของรถยนต์ $A$ ขณะที่เข้าชนรถยนต์ $B$ โดยให้สัมประสิทธิ์ความเสียดทานเป็น $0.6$ (เมื่อผิวถนนแห้ง) (โดยที่ $g=10\; m/s^2$ $\cos(12) = 0.97, \sin(12)=0.20$)



1) $11.8$     2) $12.5$     3) $13.3$     4) $10.7$

เฉลย
จากโจทย์เราสามารถทราบข้อมูลต่างได้ดังนี้

  • มุม $\theta = 12^\circ$
  • ระยะห่างระหว่าง รถยนต์ $A$ และ $B$ คือ $d=24.0\; m$
  • ความเร็วต้นของรถยนต์ $A$ คือ $v_0 = 18.0\; m/s$   
จากโจทย์กำหนดให้สัมประสิทธิ์ความเสียดทาน $u_k = 0.6$ เมื่อผิวถนนแห้ง เราสามารถหาความเร่งของรถยนต์ $A$ ได้ดังนี้

$\sum F =ma$

$mg \sin(12)-u_k mg\cos(12) = ma$

$g \sin(12)-u_k g\cos(12)=a$

$10\times 0.2 -0.6\times 10\times 0.97 = a$

$a = -3.82$

เมื่อเราได้ความเร่งแล้ว ต่อไปเราจะหาความเร็วปลาย เมื่อรถยนต์ $A$ เข้าชน รถยนต์ $B$ โดยใช้สมการ เคลื่อนที่ในแนวตรงดังนี้

$v^2 = u^2+2as$

จะได้

$v^2 = 18^2+2\times (-3.82)\times 24$

$v^2 = 18^2-2\times (3.82)\times 24$

$v^2 = 140.64$

$v = \sqrt(140.64)$

$v= 11.859$

ตอบ $11.859$

ข้อ 2 คนมวล $60\; kg $ นั่งบนตาชั่งที่วางบนรถตามรูป เมื่อปล่อยรถลงมาบนพื้นเอียงทำมุม $30^\circ$ กับแนวราบ ตาชั่งจะอ่านค่าได้กี่นิวตัน



1) $550\; N$     2) $600\; N$     3) $500\; N$     4) $450\; N$   

เฉลย

จากรูปเราจะทำการวาดรูปโดยแยกวัตถุที่เราต้องการพิจารณาออกมาเพื่อให้สามารถเห็นภาพได้ง่ายดังนี้




เมื่อเราพิจารณาจะเห็นว่าวัตถุจะเคลื่อนาที่ลง ด้วยความเร่งตามแนวพื้นเอียง ซึ่งแรงที่กระทำนั้นเกิดจากแรงดึงดูดของโลก ความเร่งตามแนวพื้นเอียงที่รถเคลื่อนที่นั้นจึงสามารถหาได้ดังนี้

$a_1 = g\sin(30)$

เมื่อเราได้ความเร่ง ตามแนวพื้นเอียงแล้วเราก็สามารถ หาความเร่งในแนวดิ่งที่กระทำต่อตาชั่ง กำหนดให้เป็น $a_y$ ได้ดังนี้

$a_y=a_1\sin(30)$

$a_y= g \sin(30)\sin(30)$

เมื่อเราได้ค่าความเร่งในแนวดิ่งที่กระทำต่อตาชั่ง เราสามารถหาผลรวมของแรงที่กระทำต่อตาชั่งได้ (ที่ความเร่งไม่ใช่ค่า $g$ ก็เพราะว่าคน และ รถไม่ได้ตกแบบอิสระ)


เราสามารถหาผลรวมของแรงได้ดังนี้

$\sum F =ma$

$mg-N = 60\times g \sin(30)\sin(30)$

$600-N = 60\times 10 \times \dfrac{1}{2}\times \dfrac{1}{2}$

$600-N = 150$

$N = 450\; N$

ตอบ $450\; N$

Sunday 8 December 2019

[PDF][VIDEO]แนว ข้อสอบนายสิบตำรวจ สอบเข้าตำรวจ วุฒิ ม.6 ภาษาอังกฤษ ชุดที่ 1 พร้อมวิดีโอเฉลย

แนว ข้อสอบนายสิบตำรวจ วิชาภาษาอังกฤษ พร้อมวิดีโอเฉลย 

วุฒิ ม. 6 น้องๆสามารถดาวน์โหลดหรือแชร์ไปให้เพื่อนๆ ไปฝึกหัดก่อนเข้ารับการทดสอบจริงกันนะครับ ผิดพลาดประการใด ผมขออภัยไว้ ณ ที่นี้ด้วยนะครับ



ถ้าข้อใดไม่ถูกต้องหรือไม่สมบูรณ์รบกวนแจ้งกลับทางคอมเมนต์หรือไม่ก็ทาง Email ได้นะครับ



ฝากน้องๆ หรือผู้เข้าชม ติชม Blogger ได้ทางคอมเมนต์หรือทาง Email ได้ที่ช่องทางแสดงความคิดเห็นด้านล่าง ขวามือได้เลยนะครับ

ถ้าเนื้อหาไม่เหมาะสม รบกวนแจ้งทาง คอมเมนต์เพื่อได้นำไปปรับปรุงให้ดีขึ้นครับ

ถ้าสนใจข้อมูลเพิ่มเติมสามารถติดตามเราได้ที่

วิดีโอสอน และเฉลย ภาษาอังกฤษ สำหรับสอบเข้าเป็นนายสิบตำรวจทั้งหมด 4 วิดีโอตามลิงก์ด้านล่างนี้นะครับ

วิดีโอสอน ติว เฉลย ข้อสอบนายสิบตำรวจ
วิดีโอที่ 1 Click
วิดีโอที่ 2 Click
วิดีโอที่ 3 Click
วิดีโอที่ 4 Click


เพิ่มเพื่อน Line

YouTube

Fan Page