Disable copy

Wednesday, 29 November 2017

[PDF]แนวข้อสอบ เตรียมทหาร ข้อสอบนายร้อย จปร. กองทัพบก วิชาวิทยาศาสตร์ พ.ศ.2544 พร้อมเฉลย 42 ข้อ ฟรี

แนวข้อสอบ สอบเข้าเป็นนักเรียนเตรียมทหารในส่วนของกองทัพบก นายร้อย จปร. วิชาวิทยาศาสตร์ พ.ศ. 2544 พร้อมเฉลย


น้องๆ หรือผู้ที่สนใจสามารถดาวน์โหลดหรือแชร์ไปให้เพื่อนๆ ได้เลยนะครับ พี่ได้จัดทำเป็นไฟล์ PDF ที่ค่อนข้างมีคุณภาพสูงเพื่อให้น้องๆ ได้สามารถฝึกฝนได้ด้วยตัวเองได้ที่บ้านโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆทั้งสิ้นครับ  ข้อสอบชุดนี้เป็นข้อสอบวิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 42 ข้อ โดยมีข้อเฉลยข้อที่ถูกไว้ให้น้องๆได้ตรวจสอบความถูกต้องครับ




ผิดพลาดประการใดฝากแจ้งกลับทางคอมเมนต์ หรือไม่ก็แจ้งกลับทาง Email ที่ช่องส่งข้อมูลแถบด้านขวาล่างสุดได้เลยนะครับ สามารถติชม หรือส่งความคิดเห็นมาได้เพื่อจะได้นำไปปรับปรุงให้ดีขึ้นยิ่งขึ้นไปครับ

ถ้าผู้ใดเห็นว่าบทความไม่เหมาะสมแจ้งผมไว้ด้วยนะครับ




ถ้าสนใจข้อมูลเพิ่มเติมสามารถติดตามเราได้ที่

Google +

เพิ่มเพื่อน Line

YouTube

Fan Page

Tuesday, 28 November 2017

Taylor Series

Taylor Series

     The Taylor series for $f(x)$ about $x=a$ is defined as
$f(x)=f(a)+f'(a)(x-a)+\cfrac{f''(a)(x-a)^2}{2!}+\dots +\cfrac{f^{(n-1)}(a)(x-a)^{n-1}}{(n-1)!}+R_n$  (1)

where $R_n=\frac{f^{(n)}(x_0)(x-a)^n}{n!},$ $x_0$ between $a$ and $x$   (2)

is called the $remainder$ and where it is supposed that $f(x)$ has derivatives of order $n$ at least. The case where $n=1$ is often called the $law of the mean$ or $mean-value theorem$ and can be written as

$\cfrac{f(x)-f(a)}{x-a}=f'(x_0)$ $x_0$ between  $a$ and $x$

     The infinite series corresponding to $(1)$ , also called the $formal Taylor series$ for $f(x)$ will converge in some interval if $\displaystyle\lim_{n\to \infty}R_n =0$ in this interval. Some important Taylor series together with their intervals of convergence are as follows.



1. $e^x= 1+x+\cfrac{x^2}{2!}+\cfrac{x^3}{3!}+\cfrac{x^4}{4!}+\dots $ $-\infty < x< \infty $
2. $\sin x=x-\cfrac{x^3}{3!} +\cfrac{x^5}{5!} -\cfrac{x^7}{7!} +\dots $ $-\infty < x< \infty $
3. $\cos x=1-\cfrac{x^2}{2!}+\cfrac{x^4}{4!}-\cfrac{x^6}{6!}+\dots$ $-\infty < x< \infty $
4. $\ln (1+x)=x-\cfrac{x^2}{2}+\cfrac{x^3}{3}-\cfrac{x^4}{4}+\dots $ $-\infty < x< \infty $
5. $\tan ^{-1}x=x-\cfrac{x^3}{3}+\cfrac{x^5}{5}-\cfrac{x^7}{7}+\dots $ $-\infty < x< \infty $

A series of the from $\displaystyle\sum_{n=0}^{\infty}c_n(x-a)^n$ is often called a $power series$. Such power series are uniformly convergent  in any interval which lies entirely within the interval of convergence  

Functions Of Two Or More Variables
     The for example $z=f(x,y)$ defines a function $f$ which assigns to the number pair $(x,y)$ the number $z$ .

     Example If $f(x,y)=x^2+3xy+2y^2$ then $f(-1,2)=(-1)^2+3(-1)(2)+2(2)^2 =3$ 

     The student is familiar with graphing $z=f(x,y)$ in a 3-dimensional $xyz$ coordinate  system to obtain a $surface $. We sometimes call $x$ and $y$ $independent$ variable  and $z$ a symbol $z$ in two different sense . However , no confusion should result .
     The ideas of limits and continuity for functions of two or more variables pattern closely those for one variable.   

Partial

     The partial derivatives of $f(x,y)$ with respect to $x$ and $y$ are defined by

$\cfrac{\partial f}{\partial x}=\lim_{h\to \infty}\cfrac{f(x+h,y)-f(x,y)}{h},\cfrac{\partial f}{\partial y}=\lim_{k\to \infty}\cfrac{f(x,y+k)-f(x,y)}{k}$   $\dots$ (1)

     if these limits exist . We often write $h=\bigtriangleup x,k\bigtriangleup y$ . Note that $\partial f/\partial x$ is simple the ordinary derivative of $f$ with respect to $x$ keeping $y$ constant , while $\partial f/\partial y$ is the ordinary derivative of $f$ with respect to $y$ keeping $x$ constant.

     Example If $f(x,y)=3x^2-4xy+2y^2$ then $\cfrac{\partial f}{\partial x}=6x -4y,\cfrac{\partial f}{\partial y}=-4x+4y$

     Higher derivatives are defined similarly . For example , we have the second order derivatives

$\cfrac{\partial}{\partial x}\left(\cfrac{\partial f}{\partial x}\right)=\cfrac{\partial^2f}{\partial x^2},\cfrac{\partial }{\partial x}\left(\cfrac{\partial f}{\partial y}\right)=\cfrac{\partial^2f}{\partial x\partial y}$ ,$\cfrac{\partial}{\partial y}\left(\cfrac{\partial f}{\partial x}\right)=\cfrac{\partial^2f}{\partial y\partial x},\cfrac{\partial}{\partial y}\left(\cfrac{\partial f}{\partial y}\right)=\cfrac{\partial^2f}{\partial y^2}$   $\dots$(2)

     The derivatives in (1) are sometimes denoted by $f_x$ and $f_y$ . In such case $f_x(a,b),f_y(a,b)$ denote these partial derivatives evaluated at $(a,b)$. Similarly the derivatives in (2) are denoted by $f_{xx},f_{xy},f_{yx},f_{yy}$ respectively . The second and third results in (2) will be the same if $f$ has continuous partial derivatives of second order at least .

     The $differential $ of $f(x,y)$ is defined as

$df =\cfrac{\partial f}{\partial x}dx+\cfrac{\partial f}{\partial y}dy$   $\dots$ (3)

where $h=\bigtriangleup x=dx,k=\bigtriangleup y =dy$.

Generalizations of these results are easily made.

Taylor Series For Functions Of  Two Or More Variables 

     The ideas involved in Taylor series for functions of one variable can be generalize 

     For example ,the Taylor series for $f(x,y)$ about $x=a,y=b$ can be written 

$f(x,y)=f(a,b)+f_x(a,b)(x-a)+f_y(a,b)(y-b)+\cfrac{1}{2!}[f_{xx}(a,b)(x-a)^2+2f_{xy}(a,b)(x-a)(y-b)+f_{yy}(a,b)(y-b)^2]+\dots $ (4)  






[PDF]แนว ข้อสอบเก่า รับตรง มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ข้อสอบ มข. โควตา มข.) วิชาคณิตศาสตร์ (วิทย์) พ.ศ.2552 พร้อมเฉย

แนวข้อสอบ สอบเข้ามหาวิทยาลัยขอนแก่น (ข้อสอบ มข. โควตา มข.) วิชาคณิตศาสตตร์ 2552 พร้อมเฉลย .pdf




ข้อสอบคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษา ในมหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยวิธีรับตรง ประจำปีการศึกษา 2552
ใช้เวลาสอบ 2 ชม. 

ถ้าผิดพลาดประการใดขออภยไว้นะที่นี้ด้วยนะครับ 

ฝากกดแชร์คอมเมนต์เพื่อเป็นกำลังใจ ติชมคอมเมนต์ได้ที่ด้านล่างนี้นะครับ


ถ้าผิดพลาดประการใดหรือไม่เหมาะสม รบกวนน้องๆ หรือผู้ที่สนใจคอมเมนต์ใต้ล่างนี้ได้เลยนะครับเพื่อจะได้นำไปปรับปรุงเนื้อหา และความเหมาะสมได้ในอนาคต

ขอความร่วมมือผู้ที่สนใจสามารถแชร์ไปให้เพื่อนๆ หรือไม่ก็ดาวน์โหลดไปฝึกฝนได้ด้วยตัวเอง ผมไม่ได้จัดทำเพื่อการค้าครับแต่ผมรบกวนอย่านำไปทำเพื่อการค้านะครับ

ถ้าชอบบทความนี้ฝากกดติดตาม ได้ทุกช่องทางด้านล่างนี้นะครับ

ถ้าสนใจข้อมูลเพิ่มเติมสามารถติดตามเราได้ที่




Fan Page

สายวิทย์ 

Monday, 27 November 2017

[PDF]แนว ข้อสอบเก่า รับตรง มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ข้อสอบ มข. โควตา มข.) วิชาคณิตศาสตร์ (วิทย์) พ.ศ.2550 พร้อมเฉย

แนวข้อสอบ สอบเข้ามหาวิทยาลัยขอนแก่น (ข้อสอบ มข. โควตา มข.) วิชาคณิตศาสตตร์ 2550 พร้อมเฉลย .pdf




ข้อสอบคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษา ในมหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยวิธีรับตรง ประจำปีการศึกษา 2550
ใช้เวลาสอบ 2 ชม. 

ถ้าผิดพลาดประการใดขออภยไว้นะที่นี้ด้วยนะครับ 

ฝากกดแชร์คอมเมนต์เพื่อเป็นกำลังใจ ติชมคอมเมนต์ได้ที่ด้านล่างนี้นะครับ


ถ้าผิดพลาดประการใดหรือไม่เหมาะสม รบกวนน้องๆ หรือผู้ที่สนใจคอมเมนต์ใต้ล่างนี้ได้เลยนะครับเพื่อจะได้นำไปปรับปรุงเนื้อหา และความเหมาะสมได้ในอนาคต

ขอความร่วมมือผู้ที่สนใจสามารถแชร์ไปให้เพื่อนๆ หรือไม่ก็ดาวน์โหลดไปฝึกฝนได้ด้วยตัวเอง ผมไม่ได้จัดทำเพื่อการค้าครับแต่ผมรบกวนอย่านำไปทำเพื่อการค้านะครับ

ถ้าชอบบทความนี้ฝากกดติดตาม ได้ทุกช่องทางด้านล่างนี้นะครับ

ถ้าสนใจข้อมูลเพิ่มเติมสามารถติดตามเราได้ที่




Fan Page

สายวิทย์ 

Sunday, 26 November 2017

[PDF]แนว ข้อสอบเก่า รับตรง มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ข้อสอบ มข. โควตา มข.) วิชาคณิตศาสตร์ (วิทย์) พ.ศ.2559 พร้อมเฉย

แนวข้อสอบ สอบเข้ามหาวิทยาลัยขอนแก่น (ข้อสอบ มข. โควตา มข.) วิชาคณิตศาสตตร์ 2559 พร้อมเฉลย .pdf




ข้อสอบคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษา ในมหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยวิธีรับตรง ประจำปีการศึกษา 2559
ใช้เวลาสอบ 2 ชม. 

ถ้าผิดพลาดประการใดขออภยไว้นะที่นี้ด้วยนะครับ 

ฝากกดแชร์คอมเมนต์เพื่อเป็นกำลังใจ ติชมคอมเมนต์ได้ที่ด้านล่างนี้นะครับ



ถ้าผิดพลาดประการใดหรือไม่เหมาะสม รบกวนน้องๆ หรือผู้ที่สนใจคอมเมนต์ใต้ล่างนี้ได้เลยนะครับเพื่อจะได้นำไปปรับปรุงเนื้อหา และความเหมาะสมได้ในอนาคต

ขอความร่วมมือผู้ที่สนใจสามารถแชร์ไปให้เพื่อนๆ หรือไม่ก็ดาวน์โหลดไปฝึกฝนได้ด้วยตัวเอง ผมไม่ได้จัดทำเพื่อการค้าครับแต่ผมรบกวนอย่านำไปทำเพื่อการค้านะครับ

ถ้าชอบบทความนี้ฝากกดติดตาม ได้ทุกช่องทางด้านล่างนี้นะครับ

ถ้าสนใจข้อมูลเพิ่มเติมสามารถติดตามเราได้ที่




Fan Page

สายวิทย์ 

Friday, 24 November 2017

[PDF]แนว ข้อสอบเก่า รับตรง มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ข้อสอบ มข. โควตา มข.) วิชาคณิตศาสตร์ (วิทย์) พ.ศ.2558 พร้อมเฉย

แนวข้อสอบ สอบเข้ามหาวิทยาลัยขอนแก่น (ข้อสอบ มข. โควตา มข.) วิชาคณิตศาสตตร์ 2558 พร้อมเฉลย .pdf




ข้อสอบคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษา ในมหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยวิธีรับตรง ประจำปีการศึกษา 2558
ใช้เวลาสอบ 2 ชม. 

ถ้าผิดพลาดประการใดขออภยไว้นะที่นี้ด้วยนะครับ 

ฝากกดแชร์คอมเมนต์เพื่อเป็นกำลังใจ ติชมคอมเมนต์ได้ที่ด้านล่างนี้นะครับ



ถ้าผิดพลาดประการใดหรือไม่เหมาะสม รบกวนน้องๆ หรือผู้ที่สนใจคอมเมนต์ใต้ล่างนี้ได้เลยนะครับเพื่อจะได้นำไปปรับปรุงเนื้อหา และความเหมาะสมได้ในอนาคต

ขอความร่วมมือผู้ที่สนใจสามารถแชร์ไปให้เพื่อนๆ หรือไม่ก็ดาวน์โหลดไปฝึกฝนได้ด้วยตัวเอง ผมไม่ได้จัดทำเพื่อการค้าครับแต่ผมรบกวนอย่านำไปทำเพื่อการค้านะครับ

ถ้าชอบบทความนี้ฝากกดติดตาม ได้ทุกช่องทางด้านล่างนี้นะครับ

ถ้าสนใจข้อมูลเพิ่มเติมสามารถติดตามเราได้ที่




Fan Page

สายวิทย์ 

[PDF] แนว ข้อสอบนักเรียนนายร้อยตำรวจ พ.ศ. 2537 นักเรียนเตรียมทหาร วิชาวิทยาศาสตร์ ข้อสอบ นายร้อย พร้อมเฉลยฟรี

แนวข้อสอบ นายร้อยตำรวจ นักเรียนเตรียมทหาร ข้อสอบนายร้อย วิชาวิทยาศาตร์ 40 ข้อ พร้อมเฉลย พ.ศ. 2537.pdf

พร้อมเฉลย น้องๆสามารถดาวน์โหลดไฟล์ไปทดลองฝึกทำกันได้นะครับ ฟรีไม่เสียค่าใช้จ่ายนะครับ



แนวข้อสอบ สอบเข้าโรงเรียนนายร้อยตำรวจ โรงเรียนเตรียมทหาร วิชาวิทยาศาสตร์ พร้อมเฉลยสามารถดาวน์โหลดได้ฟรีครับ ไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆทั้งสิ้น


น้องๆทุกคนสามารถดาวน์โหลดไปให้เพื่อนหรือแชร์ไปให้เพื่อนก็ได้นะครับ ถ้าผิดพลาดประการใดฝากแจ้งมาทางคอมเมนต์ หรือไม่เหมาะสมประการใดแจ้งผมแล้วผมจะตรวจสอบและดำเนินการแก้ไขให้เพื่อความเรียบร้อยครับ เอกสารที่ผมจัดทำขึ้นทำด้วยความตั้งใจปราณีตที่สุดเท่าที่จะทำได้เพื่อให้น้องๆได้รับประสบการณ์การอ่านที่ดีครับ (ที่ต้องใส่ลายน้ำเพราะมีบางบุคคลนำไปเพื่อมุ่งหวังทางการค้าครับ)



ระเบียบการและคุณสมบัติของผู้สมัคร (สามารถอ่านเพิ่มเติมได้ที่ คลิก)
     ผู้สมัครเข้าเป็นนักเรียนเตรียมทหาร ในส่วนของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ต้องมีความรู้พื้นฐานและคูรสมบัติดังต่อไปนี้
     1. สำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 (ม.4) หลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการ หรือเทียบเท่า
     2. อายุไม่ต่ำกว่า 15 ปีบริบูรณ์และไม่เกิน 18 ปีบริบูรณ์ ในปีที่จะเข้ารับการศึกษาเป็นนักเรียนเตรียมทหาร การนับอายุให้นับตามกฎหมายว่าด้วยการรรับราชการทหาร (นับปีชนปี)
     3. มีสัญชาติไทยโดยกำเนิด และบิดามารดามีสัฐชาติไทยโดยกำเนิด แต่ถ้าบิดาเป็นนายทหารสัญญาบัตร นายตำรวจสัญญาบัตร หรือนายทหารประทวน หรือนายตำรวจประทวน ซึ่งมีสัญชาติไทยโดยกำเนิดแล้ว มารดาจะมิใช่ผู้มีสัญชาติไทยโดยกำเนินก็ได้
     4. มีอวัยวะ รูปร่าง ลักษณะท่าทาง ขนาดร่างกายเหมาะสมแก่การเป็นทหารหรือตำรวจไม่เป็นโรคตามที่กำหนดไว้ในกฎกระทรวงออกตามความในกฎหมายและระเบียบว่าด้วยการรับราชการทหารตำรวจ 
     5. เป็นชายโสด ไม่เคยมีความประพฤติเสื่อมเสียทางเพศ หรือติดต่อได้เสียกับหญิงถึงขั้นที่จะถือว่าเป็นผู้มีภรรยา
     6. เป็นผู้มีความประพฤตเรียบร้อย ไม่บกพร่องในศีลธรรมอันดี มีอุดมการณ์เลื่อมใสในระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขและมีผู้ปกครองดูแลความประพฤติ
     7. ไม่เป็นผู้มีหนี้สินล้นพ้นตัว และไม่เคยเป็นบุคคลล้มละลาย
     8. ไม่เป็นผู้ต้องรับโทษจำคุกคำพิพากษาคดีถึงที่สุดให้จำคุก เว้นแต่เป็นโทษสำหรับความผิดที่กระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
     9. ไม่เป็นผู้ที่อยู่ระหว่างพักราชการ หรือหนีราชการ
     10. ไม่เป็นผู้ที่เคยถูกไล่ออกจากโรงเรียน หรือถูกปลดออกเพราะความผิด หรือถูกไล่ออกจากราชการ
     11. ไม่เป็นผู้เสพยาเสพติด หรือสารเคมีเสพติดให้โทษที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
     12. บิดา มารดา และผู้ปกครอง เป็นผู้มีอาชีพสุจริตอันชอบธรรม หรือมีหลักฐานเชื่อถือได้
     13. เป็นผู้ได้รับอนุญาตจากบิดามารดา หรือผู้ปกครองให้สมัครเข้าเป็นนักเรียนเตรียมทหาร
     14. ต้องมีผู้ปกครองหรือผู้รับรอง ซึ่งสามารถรับรองข้อความและพันธกรณี ตามที่ทางราชการกำหนด
     15. ต้องไม่มีพันธกรณีผู้พันกับองค์กรของรัฐบาลหรือเอกชน อันจะเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
     16. ไม่เป็นผู้ที่เคยทุจริตในการสมัครหรือในการสอบคัดเลือกมาแล้ว
     17. ไม่เป็นผู้ที่ออกจากโรงเรียนเตรียมทหาร เพราะความประพฤตบกพร่อง หรือ ลาออก
     18. พื้นความรู้และคุณสมบัติดังกล่าวนี้ แม้ปรากฏว่าเป็นเท็จขึ้นภายหลังที่รับเข้าเป็นนักเรียนเตรียมทหารแล้วก็ตามจะต้องออกจากความเป็นนักเรียนเตรียมทหารทันที

ผู้ไม่มีสิทธิสมัครเข้าเป็นนักเรียนเตรียมทหาร
     ผู้ไม่มีคุณสมบัติ และลักษณะครบตามที่ระบุไว้ขั้นต้น

การสอบรอบแรก ภาควิชาการ
     1. วิชาวิทยาศาสตร์
     2. วิชาคณิตศาสตร์
     3. วิชาภาษาอังกฤษ
     4. วิชาภาษาไทยและวิชาสังคมศึกษา

การสอบรอบสอง
     เป็นการตรวจร่างกาย ทดสอบบุคลิกภาพ ตรวจสอบประวัติ สอบพลศึกษา วัดขนาดร่างกาย และสอบสัมภาษณ์

การสอบพลศึกษา มี 8 ประเภทดังนี้
     1. ดึงข้อราวเดี่ยว
     2. ลุกนั้ง 30 วินาที
     3. นั่งงอตัว
     4. วิ่งระยะสั้น (50 เมตร)
     5. วิ่งระยะไกล (1,000 เมตร)
     6. ว่ายน้ำ (50 เมตร)
     7. ยืนกระโดดไกล
     8. วิ่งกลับตัว (วิ่งเก็บของ)

ถ้าสนใจข้อมูลเพิ่มเติมสามารถติดตามเราได้ที่

Google +

เพิ่มเพื่อน Line

YouTube

Fan Page

Wednesday, 22 November 2017

Solutions Of Algebraic Equations

Quadratic Equation : $ax^2 +bx +c=0$

1. $x=\cfrac{-b\pm\sqrt{b^2-4ac}}{2a}$

If $a,b,c$ are real and if  $D=b^2-4ac$ is the $discriminant$, then the roots are 
     (i) real and unequal if $D>0$
     (ii) real and equal if $D=0$
      (iii) complex conjugate if $D<0$

2. If $x_1,x_2$ are roots , then $x_1+x_2=-b/a$ and $x_1x_2=c/a$

Cubic Equation : $x^3+a_1x^2 +a_2x+a_3=0$

Let       $Q =\cfrac{3a_2-a_1^2}{9} , R=\cfrac{9a_1a_2 -27a_3 -2a_1^3}{54},$

              $S=\sqrt[3]{R+\sqrt{Q^3+R^3}} , T=\sqrt[3]{R -\sqrt{Q^3+R^3}}$


1. Solutions :                $\begin{cases} x_1 = S+T-\cfrac{1}{3}a_1 \\ x_2 = -\cfrac{1}{2}(S+T) -\cfrac{1}{3}a_1 +\cfrac{1}{2}i\sqrt{3}(S-T) \\ x_3 =-\cfrac{1}{2}(S+T)-\cfrac{1}{3}a_1 -\cfrac{1}{3}i\sqrt{3}(S-T)   \end{cases}$

If $a_1,a_2,a_3$ are real and if $D=Q^3+R^2$ is the $discriminant$, then 
     (i) one root real and two complex conjugate if $D>0$
     (ii) all roots are real and at least two are equal if $D=0$
     (iii) all roots are real and unequal if $D<0$

If $D<0$, computation is simplified by use of trigonometry .

2. Solutions if $D<0 :   \begin{cases}x_1 = 2\sqrt{-Q}\cos(\cfrac{1}{3}\theta)-\cfrac{1}{3}a_1 \\ x_2 =2\sqrt{-Q}\cos(\cfrac{1}{3}\theta +120^\circ)-\cfrac{1}{3}a_1 \\ x_3=2\sqrt{-Q}\cos(\cfrac{1}{3}\theta +240^\circ)-\cfrac{1}{3}a_1  \end{cases}  $ where $\cos \theta =R/\sqrt{-Q^3}$



3. $x_1+x_2+x_3 =-a_1 ,x_1x_2 +x_2x_3+x_3x_1 =a_2, $  $x_1x_2x_3 =-a_3$

where $x_1,x_2,x_3$ are the three roots .

Quartic Equation : $x^4+a_1x^3+a_2x^2+a_3x+a_4=0$

Let $y_1$ be a root of the cubic equation 

1. $y^3-a_2y^2 +(a_1a_3-4a_4)y+(4a_2a_4-a_3^2-a_1^2a_4)=0$

2. Solutions : The 4 roots of $z^2+\cfrac{1}{2}\{a_1\pm\sqrt{a_1^2 -4a_2+4y_1}\}z+\cfrac{1}{2}\{y_1\mp\sqrt{y_1^2-4a_4}\}=0$

     If all roots of 1 are real , computation is simplified by using that particular real root which produces all real coefficients in the quadratic equation 2 


3.  $\begin{cases}x_1+x_2+x_3+x_4=-a_1 \\ x_1x_2 +x_2x_3 +x_3x_4 +x_4x_1 +x_1x_3 +x_2x_4 =a_2 \\ x_1x_2x_3 +x_2x_3x_4 +x_1x_2x_4 +x_1x_3x_4 =-a_3 \\ x_1x_2x_3x_4=a_4  \end{cases}$ 

where $x_1,x_2,x_3,x_4$ are the four roots .  


Trigonometric Functions

Definition Of Trigonometric Functions For A Right Triangle 

     Triangle $ABC$ has a right angle ($90^circ$) at $C$ and sides of length $a,b,c$ . The trigonometric functions of angle  $A$ are defined as follows.



$1. \sin \text{of} A =\sin A =\cfrac{a}{c} =\cfrac{\text{opposite}}{\text{hypotenuse}}$

$2. cosine \text{of} A = \cos A =\cfrac{b}{c} =\cfrac{\text{adjacent}}{\text{hypotenuse}}$

$3. tangent \text{of} A =\tan A =\cfrac{a}{b} =\cfrac{\text{opposite}}{\text{adjacent}}$

$4. cotangent \text{of} A=\cot A=\cfrac{b}{a}=\cfrac{\text{adjacent}}{\text{opposite}}$

$5. secant \text{of} A=\sec \cfrac{c}{b}=\cfrac{hypotenuse}{\text{adjacent}}$

$6. cosecant \text{of} A=\sec A=\cfrac{c}{a}=\cfrac{\text{hypotenuse}}{\text{opposite}} $


Extensions To Angles Which May Be Greater Than $90^\circ$

     Consider an $xy$ coordinate system . A point  $P$ in the $xy$ plane has  coordinates $(x,y)$ where $x$ is considered as positive along $OX$ and negative along $OX'$ while $y$ is positive along $OY$ and negative along $OY'$ . The distance from origin $O$ to point $P$ is positive and denoted by $r=\sqrt{x^2+y^2}$. The angle $A$ described $counterclockwise$ from $OX$ is considered $positive$ . If it is described $clockwise$ from $OX$ it is considered $negative$. We call $X'OX$ and $Y'OY$ the $x$ and $y$ axis respectively .

     The various quadrants are denotes by I,II,III and IV called the first , second, third and fourth quadrants respectively . In Fig 1 for example, angle $A$ is in the second quadrant while in Fig 2 angle $A$ is in the third quadrant .




$1. \sin A= y/r$

$2. \cos A= x/r$

$3. \tan A=y/x$

$4. \cot A=x/y$

$5. \sec A=r/x$

$6. \csc A=r/y$

Relationship Between Degrees And Radians 

     A $radian$ is that angle $\theta$ subtended at center $O$ of a circle by an arc $MN$ equal to the radius $r$.
     Since $2\pi$ radians = $360^\circ$ we have

1. $1$ radian = $180^\circ /\pi = 57.29577\; 95130\; 8232\; \dots ^\circ$

2. $1^\circ =\pi /180 $ radians = $0.0175\; 32925\; 19943\; 29576\; 92\dots $ radians


Relationships Among Trigonometric Functions 


$1. \tan A=\cfrac{\sin A}{\cos A}$

$2. \cot A=\cfrac{1}{\tan A}=\cfrac{\cos A}{\sin A}$

$3. \sec A=\cfrac{1}{\cos A}$

$4. \csc A=\cfrac{1}{\sin A}$

$5. \sin ^2A+\cos ^2A=1$

$6 \sec ^2-\tan ^2 A=1$

$7. \csc ^2A-\cot ^2 A=1$

Sum ,Difference And Product Of Hyperbolic Functions 

$1. sinh x+ sinh y= 2sinh\cfrac{1}{2}(x+y)cosh \cfrac{1}{2}(x-y)$

$2. sinh x-sinh y=2cosh\cfrac{1}{2}(x+y)sinh \cfrac{1}{2}(x-y)$

$3. cosh x+cosh y=2cosh\cfrac{1}{2}(x+y)cosh\cfrac{1}{2}(x-y)$

$4. cosh x-cosh y =2sinh\cfrac{1}{2}(x+y)sinh\cfrac{1}{2}(x-y)$

$5. sinh xsinh y =\cfrac{1}{2}\{cosh(x+y)-cosh(x-y)\}$

$6. cosh xcosh y =\cfrac{1}{2}\{cosh (x+y)+cosh (x-y)\}$

$7. sinh xcosh y=\cfrac{1}{2}\{sinh(x+y)+sinh(x-y)\}$



Form Mathematical Hanbook

Geometry Formulas

Geometry Formulas 

$A$ = area , $S$ = lateral surface area , $V$ = volume , $h$ = height , $B$ =  area of base , $r$ = radius , $l$ = slant height ,$C$ = circumference , $s$ = arc length   

Parallelogram 


$A=nh$

Triangle



$A=\cfrac{1}{2}bh$

Trapezoid 




$A=\cfrac{1}{2}(a+b)h$


Circle


$A=\pi r^2 ,C=2\pi r$

Sector

$A=\cfrac{1}{2}r^2 \theta ,s=r\theta$


Right Circular Cylinder




$V=\pi r^2 ,S =2\pi rh$

Right Circular Cone



$V=\cfrac{1}{3}\pi r^2 h, S=\pi rl$

Sphere



$V=\cfrac{4}{3}\pi r^3 , S =4\pi r^2$

from calculus


สูตรสำหรับการหาพื้นที่ผิวและปริมาตรของรูปทรงต่างๆ


Tuesday, 21 November 2017

The Binomial Formula and Binomial Coefficients


Factorial $n$

If $n=1,2,3,\dots $ factorial $n$ or $n$ factorial is defined as

1. $n! =1\cdot 2\cdot 3\cdot \cdots n$

We also define $zero factorial $ as

2. $0!=1$

Binomial Formula For Positive Integral $n$ 


If $n=1,2,3,\dots $ then

3. $(x+y)^n=x^n+nx^{n-1}y+\cfrac{n(n-1)}{2!}x^{n-2}y^2+\cfrac{n(n-1)(n-2)}{3!}x^{n-3}y^3+\dots +y^n$

This is called the $binomial formula $ . It can be extended to other values of $n$ and then is an infinite series 

Binomial Coefficients 

The result 3 can also be written

4. $(x+y)^n =x^n+\binom{n}{1}x^{n-1}y+\binom{n}{2}x^{n-2}y^2+\binom{n}{3}x^{n-3}y^3+\dots +\binom{n}{n}y^n$

where the coefficients ,called $binomial coefficients$ are given by

5. $\binom{n}{k} =\cfrac{n(n-1)(n-2)\cdots (n-k+1)}{k!}=\cfrac{n!}{k!(n-k)!}=\binom{n}{n-k}$

Properties Of Binomial Coefficients 


6. $\binom{n}{k}+\binom{n}{k+1}=\binom{n+1}{k+1}$

This leads to Pascal's triangle 

7. $\binom{n}{0}+\binom{n}{1}+\binom{n}{2}+\cdots +\binom{n}{n}=2^n$

8. $\binom{n}{0}-\binom{n}{1}+\binom{n}{2}-\cdots (-1)^n\binom{n}{n}=0$

9. $\binom{n}{n}+\binom{n+1}{n}+\binom{n+2}{n}+\cdots +\binom{n+m}{n}=\binom{n+m+1}{n+1}$

10. $\binom{n}{0}+\binom{n}{2}+\binom{n}{4}+\cdots =2^{n-1}$

11. $\binom{n}{1}+\binom{n}{3}+\binom{n}{5}+\cdots =2^{n-1}$

12. $\binom{n}{0}^2+\binom{n}{1}^2+\binom{n}{2}^2+\cdots +\binom{n}{n}^2=\binom{2n}{n}$

13. $\binom{m}{0}\binom{n}{p}+\binom{m}{1}\binom{n}{p-1}+\cdots +\binom{m}{p}\binom{n}{0}=\binom{m+n}{p}$

14. $(1)\binom{n}{1}+(2)\binom{n}{2}+(3)\binom{n}{3}+\cdots +(n)\binom{n}{n}=n2^{n-1}$

15. $(1)\binom{n}{1}-(2)\binom{n}{2}+(3)\binom{n}{3}-\cdots (-1)^{n+1}(n)\binom{n}{n}=0$


Multinomial  Formula


16. $(x_1+x_2+\cdots +x_p)^n=\sum\cfrac{n!}{n_1!n_2!\cdots n_p!}x_1^{n_1}x_2^{n_2}\cdots x_p^{n_p}$

where the sum, denoted by $\sum$ is taken over all nonnegative integers $n_1,n_2, \dots n_p$ for which $n_1+n_2+\cdots +n_p =n$


Special Products and Factors

Special Products and Factors


1. $(x+y)^2 =x^2+2xy+y^2$

2. $(x-y)^2=x^2-2xy+y^2$

3. $(x+y)^3=x^3+3x^2y+3xy^2+y^3$

4. $(x-y)^3=x^3-3x^2y+3xy^2-y^3$

5. $(x+y)^4 = x^4+4x^3y+6x^2y^2+4xy^3+y^4$

6. $(x-y)^4= x^4-4x^3y+6x^2y^2-4xy^3+y^4$

7. $(x+y)^5=x^5+5x^4y+10x^3y^2+10x^2y^3+5xy^4+y^5$

8. $(x-y)^5=x^5-5x^4y+10x^3y^2+10x^3y^2-10x^2y^3+5xy^4-y^5$

9. $(x+y)^6=x^6+6x^5y+15x^4y^2+20x^3y^3+15x^2y^4+6xy^5+y^6$

10. $(x-y)^6=x^6-6x^5y+15x^4y^2-20x^3y^3+15x^2y^4-6xy^5+y^6$

The results 1 to 10 above are special cases of the $binomial formula$

11. $x^2-y^2=(x-y)(x+y)$

12. $x^3-y^3=(x-y)(x^2+xy+y^2)$

13. $x^3+y^3 =(x+y)(x^2-xy+y^2)$

14. $x^4-y^4=(x-y)(x+y)(x^2+y^2)$

15. $x^5-y^5=(x-y)(x^4+x^3y+x^2y^2+xy^3+y^4)$

16. $x^5+y^5=(x+y)(x^4-x^3y+x^2y^2-xy^3+y^4)$

17. $x^6-y^6=(x-y)(x+y)(x^2+xy+y^2)(x^2-xy+y^2)$

18. $x^4+x^2y^2+y^4=(x^2+xy+y^2)(x^2-xy+y^2)$

19. $x^4+4y^4 =(x^2+2xy+2y^2)(x^2-2xy+2y^2)$

Some generalization of the above are given by the following results where $n$ is a position integer .

20. $x^{2n+1}-y^{2n+1}=(x-y)(x^{2n}+x^{2n-1}y+x^{2n-2}y^2+\dots +y^{2n})$

                                          $= (x-y)(x^2-2xy\cos\cfrac{2\pi}{2n+1}+y^2)(x^2-2xy\cos\cfrac{4\pi}{2n+1}+y^2)\dots (x^2-2xy\cos\cfrac{2n\pi}{2n+1}+y^2)$

21. $x^{2n+1}+y^{2n+1}=(x+y)(x^{2n}-x^{2n-1}y+x^{2n-2}y^2-\dots +y^{2n})$
                                           $=(x+y)(x^2+2xy\cos\cfrac{2\pi}{2n+1}+y^2)(x^2+2xy\cos\cfrac{4\pi}{2n+1}+y^2)\dots (x^2+2xy\cos\cfrac{2n\pi}{2n+1}+y^2)$

22. $x^{2n}-y^{2n}=(x-y)(x+y)(x^{n-1}+x^{n-2}y+x^{n-3}y^2+\dots)(x^{n-1}-x^{n-2}y+x^{n-3}y^2-\dots)$
                               $=(x-y)(x+y)(x^2-2xy\cos\cfrac{\pi}{n}+y^2)(x^2-2xy\cos\cfrac{2\pi}{n}+y^2)$
                                $\dots (x^2-2xy\cos\cfrac{(n-1)\pi}{n}+y^2)$

23. $x^{2n}+y^{2n}=(x^2+2xy\cos\cfrac{\pi}{2n}+y^2)(x^2+2xy\cos\cfrac{3\pi}{2n}+y^2)$
                                  $\dots (x^2+2xy\cos\cfrac{(2n-1)\pi}{2n}+y^2)$


Trigonometric Functions ,Inverse Trigonometric , Hyperbolic Function

Trigonometric Functions 

$\sin x,\cos x,\tan x,\cot x,\sec x,\csc x$ 

Some fundamental relationships among these functions are as follows .

$(a) \sin x=\cos \left(\cfrac{\pi}{2}-x\right) ,\cos x=\sin\left(\cfrac{\pi}{2}-x\right), \tan x=\cfrac{\sin x}{\cos x} , \cot x=\cfrac{\cos x}{\sin x}=\cfrac{1}{\tan x}, \sec x=\cfrac{1}{\cos x}, \csc =\cfrac{1}{\sin x}$

$(a) \sin^2 x+\cos^2 x=1, \sec^2x-\tan^2x=1 ,\csc^2x-\cot^2x=1$

$(c) \sin(-x)=-\sin x,\cos (-x)=\cos x,\tan (-x)=-\tan x$

$(d) \sin(x\pm y)=\sin x\cos y\pm \cos x\sin y,\cos (x\pm y)=\cos x\cos y \mp \sin x\sin y , \tan (x\pm y)=\cfrac{\tan x\pm \tan y}{1\mp \tan x\tan y}$

$(e) A\cos x+B\sin x=\sqrt{A^2+B^2}\sin (x+\alpha)$ where $\tan \alpha =A/B$

     The trigonometric functions are $periodic$ For example $\sin x$ and $\cos x$ shown in Fig 1-1 and 1-2 respectively ,have period $2\pi$





Inverse Trigonometric Function 

     $\sin^{-1} x,\cos^{-1}x,\tan^{-1}x,\cot^{-1}x ,\sec^{-1}x ,\csc^{-1}x$
There are $inverses$ of the trigonometric functions. For example if $\sin x=y$ then $x=\sin^{-1}y,$ or on interchanging $x$ and $y,$ $y=\sin^{-1}x$.

Hyperbolic Functions 

$(a) \mathrm{sinh}x=\cfrac{e^x -e^{-x}}{2}$   $\mathrm{cosh} x=\cfrac{e^x +e^{-x}}{2}$ ,

      $\mathrm{tanh}x=\cfrac{\mathrm{sinh}x}{\mathrm{cosh}x}=\cfrac{e^x-e^{-x}}{e^x+e^{-x}}$   $\mathrm{coth}x=\cfrac{\mathrm{cosh}x}{\mathrm{sinh}x}=\cfrac{1}{\mathrm{tanh}x}=\cfrac{e^x+e^{-x}}{e^x-e^{-x}}$,

$\mathrm{sech}x=\cfrac{1}{\mathrm{cosh}x}=\cfrac{2}{e^x+e^{-x}},$  $\mathrm{csch}x=\cfrac{1}{\mathrm{sinh}x} =\cfrac{2}{e^x-e^{-x}}$

$(b) \mathrm{cosh}^2x-\mathrm{sinh}^2x=1, \mathrm{sech}^2x+\mathrm{tanh}^2x=1, \mathrm{coth}^2x-\mathrm{csch}^2x=1$

$(c) \mathrm{sinh}(x\pm y)= \mathrm{sinh}x\mathrm{cosh}y\pm \mathrm{cosh}x\mathrm{sinh}y$

$\mathrm{cosh}(x\pm y)=\mathrm{cosh}x\mathrm{cosh}y\pm \mathrm{sinh}x\mathrm{sinh}y$

$\mathrm{tanh}(x\pm y)=\cfrac{\mathrm{tanh}x\pm \mathrm{tanh}y}{1\pm \mathrm{tanh}x\mathrm{tanh}y}$

     The inverse hyperbolic function ,given by $\mathrm{sinh}^{-1} x$, $\mathrm{cosh}^{-1} x,etc$ can be expressed in terms of logarithms



by. theory and problems of advanced mathematics

[PDF]แนวข้อสอบ เก่า สอบเข้ามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ข้อสอบ มช. โควตา มช. วิชาคณิตศาสตร์ พ.ศ.2538 จำนวน 40 ข้อพร้อมเฉลย

ข้อสอบ สอบเข้ามหาวิทยาลัยเลียงใหม่ ข้อสอบ โควตา มช. วิชาคณิตศาสตร์ (สวายวิทย์) พ.ศ. 2538 จำนวน 40 ข้อ พร้อมเฉลย.pdf





ข้อสอบการสอบคัดเลือกนักเรียนในเขตพัฒนาภาคเหนือเพื่อเข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยของรัฐและเอกชน ปีการศึกษา 2538  ข้อสอบคณิตศาสตร์  จำนวน 40 ข้อ พร้อมเฉลย

ข้อสอบ ตอนที่ 1 ข้อสอบแบบเลือกตอบ แต่ละข้อจะมีคำตอบให้เลือก 4 คำตอบ คือ 1 2 3 4 ให้พิจารณาเลือกคำตอบที่เห็นว่า ถูกต้องที่สุดหรือเหมาะสมทืี่สุดเพียงคำตอบเดียว
ข้อสอบ ตอนที่ 2 แบบให้คิดคำนวณ ให้นำคำตอบที่ถูกต้อง โดยใช้ทศนิยมสองตำแหน่งไม่ปัดตัวเลข



ถ้าผิดพลาดประการใดหรือไม่เหมาะสม รบกวนน้องๆ หรือผู้ที่สนใจคอมเมนต์ใต้ล่างนี้ได้เลยนะครับเพื่อจะได้นำไปปรับปรุงเนื้อหา และความเหมาะสมได้ในอนาคต

ขอความร่วมมือผู้ที่สนใจสามารถแชร์ไปให้เพื่อนๆ หรือไม่ก็ดาวน์โหลดไปฝึกฝนได้ด้วยตัวเอง ผมไม่ได้จัดทำเพื่อการค้าครับแต่ผมรบกวนอย่านำไปทำเพื่อการค้านะครับ

ถ้าชอบบทความนี้ฝากกดติดตาม ได้ทุกช่องทางด้านล่างนี้นะครับ

ถ้าสนใจข้อมูลเพิ่มเติมสามารถติดตามเราได้ที่




Monday, 20 November 2017

Limits , Continuity ,Derivatives

Limits  

  The functions  $f(x)$ is said to have the $limit$ $l$ as $x$ approaches $a$, abbreviated $\displaystyle\lim_{x\to a} f(x)=l$, if given any number $\epsilon >0$ we can find a number $\delta >0$ such that $|f(x)-l| < \epsilon $ whenever $0<|x-a|<\delta$

     Note that $|p|,i.e.$ the $absolute value$ of $p,$ is equal to $p$ if $p>0,-p$ if $p<0$ and $0$ if $p=0$.

     Example $\displaystyle\lim_{x\to 1} (x^2-4x+8) =5, \displaystyle\lim_{x\to 2}\cfrac{x^2-4}{x-2}=4, \displaystyle\lim_{x\to o}\cfrac{\sin x}{x}=1$

     If $\displaystyle\lim_{x\to a}f_1(x)=l_1$ $\displaystyle\lim_{x\to a}f_2 (x)=l_2$ then we have the following theorems on limits .

$(a)$ $\displaystyle\lim_{x\to a}[f_1(x)\pm f_2(x)] =\displaystyle f_1(x)\pm \displaystyle\lim_{x\to a}f_2(x)=l_1\pm l_2$

$(b)$ $\displaystyle\lim_{x\to a}[f_1 (x)f_2(x)] =\left[\displaystyle\lim_{x_a}f_1(x) \right]\left[\displaystyle\lim_{x\to a}f_2 (x)\right] =l_1 l_2$

$(c)$ $\displaystyle\lim_{x\to a}\cfrac{f_1 (x)}{f_2 (x)}=\cfrac{\displaystyle\lim_{x\to a}f_1 (x)}{\displaystyle\lim_{x\to a}f_2 (x)}=\cfrac{l_1}{l_2}$ if $l_2\neq 0 $


Continuity 

     The function $f(x)$ is said to be $continuous$ at $a$ if $\displaystyle\lim_{x\to a} f(x)=f(a)$.

Example $f(x)=x^2-4x+8$ is continuous at $x=1$ However ,if  $ f(x)=\begin{cases} \cfrac{x^2-4}{x-2} & x\neq 2 \\ 6 & x=2   \end{cases}$ 

Then $f(x)$ is not continuous [or is discontinuous ] at $x=2$ and $x=2$ is called $a$ discontinuous of $f(x)$ 

     If $f(x)$ is continuous at each point of an interval such as $x_1\leqslant\leqq x\leqslant\leqq x_2$ or $x_1< x\leqslant\leqq x_2, x$ etc. it is said to be continuous in the interval .

     If $f_1(x)$ and $f_2(x)$ are continuous in an interval then $f_1(x)\pm f_2(x),f_1(x)f_2(x)$ and $f_1(x)/f_2(x)$ where $f_2(x)\neq 0$ are also continuous in the interval.


Derivatives

     The $derivatives$ of $y=f(x)$ at a point $x$ is defined as

$f'(x)=\displaystyle\lim_{h\to 0}\cfrac{f(x+h)-f(x)}{h}=\displaystyle\lim_(\bigtriangleup x\to 0)\cfrac{\bigtriangleup y}{\bigtriangleup x}=\cfrac{\mathrm{d}y}{\mathrm{d}x}$

Where $h=\bigtriangleup x, \bigtriangleup y=f(x+h)-f(x)=f(x+\bigtriangleup x)-f(x)$ provided the limit exists .

The $differential$ of $y=f(x)$ is defined by

$\mathrm{d}y=f'(x)\mathrm{d}x$ where $\mathrm{d}x=\bigtriangleup x$      

The process of finding derivatives is called $differentiation$ . By taking derivatives of $y'=\mathrm{d}y/\mathrm{d}x=f'(x)$ we can find second. third  and higher order derivatives, denoted by $y'' =\mathrm{d}^2 y/\mathrm{d}x^2 =f''(x),y'''=\mathrm{d}^3y/\mathrm{d}x^3=f'''(x)$ etc.

     Geometrically the derivative of a function $f(x)$ at a point represents the $slope $ of the  $tangent line$ drawn to the curve $y=f(x)$ at the point .

     If a function has a derivative at a point, then it is continuous at the point. However, the converse is not necessarily .

by. theory and problems of advanced mathematics


Differentiation Formulas

Differentiation Formulas


In the following $u,v$ represent functions of $x$ while $a,c,p$ represent constants . We assume of course that the derivatives of $u$ and $v$ exist, i.e. $u$ and $v$ are $differentiable$ .

1. $\cfrac{\mathrm{d}}{\mathrm{d}x}(u\pm v)=\cfrac{\mathrm{d}u}{\mathrm{d}x}\pm \cfrac{\mathrm{d}v}{\mathrm{d}x}$

2. $\cfrac{\mathrm{d}}{\mathrm{d}x}(cu)=c\cfrac{\mathrm{d}u}{\mathrm{d}x}$

3. $\cfrac{\mathrm{d}}{\mathrm{d}x}(uv)=u\cfrac{\mathrm{d}v}{\mathrm{d}x}+v\cfrac{\mathrm{d}u}{\mathrm{d}x}$

4. $\cfrac{\mathrm{d}}{\mathrm{d}x}\left(\cfrac{u}{v}\right) = \cfrac{v(\mathrm{d}u)/\mathrm{d}x -u(\mathrm{d}v/\mathrm{d}x)}{v^2}$

5. $\cfrac{\mathrm{d}}{\mathrm{d}x}u^p =pu^{p-1}\cfrac{\mathrm{d}u}{\mathrm{d}x}$

6. $\cfrac{\mathrm{d}}{\mathrm{d}x}=a^u\ln a$

7. $\cfrac{\mathrm{d}}{\mathrm{d}x}e^u = e^u\cfrac{\mathrm{d}u}{\mathrm{d}x}$

8. $\cfrac{\mathrm{d}}{\mathrm{d}x}\ln u=\cfrac{1}{u}\cfrac{\mathrm{d}u}{\mathrm{d}x}$

9. $\cfrac{\mathrm{d}}{\mathrm{d}x}\sin u=\cos u\cfrac{\mathrm{d}u}{\mathrm{d}x}$

10. $\cfrac{\mathrm{d}}{\mathrm{d}x}\cos u=-\sin u\cfrac{\mathrm{d}u}{\mathrm{d}x}$

11. $\cfrac{\mathrm{d}}{\mathrm{d}x}\tan u=\sec ^2u\cfrac{\mathrm{d}u}{\mathrm{d}x}$

12. $\cfrac{\mathrm{d}}{\mathrm{d}x}\cot u=-\csc ^2u\cfrac{\mathrm{d}u}{\mathrm{d}x}$

13. $\cfrac{\mathrm{d}}{\mathrm{d}x}\sec u=\sec u\tan u\cfrac{\mathrm{d}u}{\mathrm{d}x}$

14. $\cfrac{\mathrm{d}}{\mathrm{d}x}\csc u=-\csc u \cot u\cfrac{\mathrm{d}u}{\mathrm{d}x}$

15. $\cfrac{\mathrm{d}}{\mathrm{d}x}\sin^{-1}u= \cfrac{1}{\sqrt{1-u^3}}\cfrac{\mathrm{d}u}{\mathrm{d}x}$

16. $\cfrac{\mathrm{d}}{\mathrm{d}x}\cos ^{-1}u=\cfrac{-1}{\sqrt{1-u^2}}\cfrac{\mathrm{d}u}{\mathrm{d}x}$

17. $\cfrac{\mathrm{d}}{\mathrm{d}x}\tan^{-1} u=\cfrac{1}{1+u^2}\cfrac{\mathrm{d}u}{\mathrm{d}x}$

18. $\cfrac{d}{\mathrm{d}x}\cot ^{-1} u=\cfrac{-1}{1+u^2}\cfrac{\mathrm{d}u}{\mathrm{d}x}$

19. $\cfrac{\mathrm{d}}{\mathrm{d}x}\mathrm{sinh} \mathrm{cosh} u\cfrac{\mathrm{d}u}{\mathrm{d}x}$

20 $\cfrac{\mathrm{d}}{\mathrm{d}x} \mathrm{cosh} u=\mathrm{sinh} u\cfrac{\mathrm{d}u}{\mathrm{d}x}$

In the special case where $u=x$, the above formulas are simplified since in such case $\cfrac{\mathrm{d}u}{\mathrm{d}x}=1$.

by. theory and problems of advanced mathematics

Table Of Integrals calculus

Table Of Integrals 

Elementary Integrals


1. $\displaystyle\int \mathrm{d}u =u+C$ 

2. $\displaystyle\int a \mathrm{d}u = au+C$

3. $\displaystyle\int [f(u)+g(u)] = \displaystyle\int f(u) \mathrm{d}u +\displaystyle\int g(u) \mathrm{d}u$

4. $\displaystyle\int u^n \mathrm{d}u =\cfrac{u^{n+1}}{n+1}+C        (n \neq -1)$

5. $\displaystyle\int \cfrac{\mathrm{d}u}{u} = \ln |u|+C$

Integrals Containing $a+bu$


6. $\displaystyle\int \cfrac{u\mathrm{d}u}{a+bu} =\cfrac{1}{b^2}[bu-a\ln|a+bu|]+C$

7. $\displaystyle\int \cfrac{u^2\mathrm{d}u}{a+bu} =\cfrac{1}{b^3}\left[\cfrac{1}{2}(a+bu)^2-2a(a+bu)+a^2\ln|a+bu|  \right]+C$

8. $\displaystyle\int \cfrac{u\mathrm{d}u}{(a+bu)^2} = \cfrac{1}{b^2}\left[\cfrac{a}{a+bu}+\ln |a+bu|\right]+C$

9. $\displaystyle\int\cfrac{u^2\mathrm{d}u}{(a+bu)^2} =\cfrac{1}{b^3}\left[bu-\cfrac{a^2}{a+bu}-2a\ln|a+bu|\right]+C$

10. $\displaystyle\int \cfrac{u\mathrm{d}u}{(a+bu)^3}=\cfrac{1}{b^2}\left[\cfrac{a}{2(a+bu)^2}-\cfrac{1}{a+bu} \right]+C$

11. $\displaystyle\int \cfrac{mathrm{d}u}{u(a+bu)} =\cfrac{1}{a}\ln\left|\cfrac{u}{a+bu}\right|+C$

12. $\displaystyle\int \cfrac{\mathrm{d}u}{u^2(a+bu)}=-\cfrac{1}{au}+\cfrac{b}{a^2}\ln\left|\cfrac{a+bu}{u}\right| +C$


13. $\displaystyle\int \cfrac{\mathrm{d}u}{u(a+bu)^2} =\cfrac{1}{a(a+bu)}+\cfrac{1}{a^2}\ln \left|\cfrac{u}{a+bu}\right| +C$


Integrals Containing $\sqrt{a+bu}$ 


14. $\displaystyle\int u\sqrt{a+bu}\mathrm{d}u=\cfrac{2}{15b^2}(3bu-2a)(a+bu)^{\cfrac{3}{2}}+C$

15. $\displaystyle\int u^2\sqrt{a+bu}\mathrm{d}u =\cfrac{2}{105b^3}(15b^2u^2-12abu+8a^2)(a+bu)^{\cfrac{3}{2}}+C$

16. $\displaystyle\int u^n\sqrt{a+bu}\mathrm{d}u =\cfrac{2u^n(a+bu)^{\cfrac{3}{2}}}{b(2n+3)}-\cfrac{2an}{b(2n+3)}\displaystyle\int u^{n-1}\sqrt{a+bu}\mathrm{d}u$

17. $\displaystyle\int\cfrac{u\mathrm{d}u}{\sqrt{a+bu}}=\cfrac{2}{3b^2}(bu-2a)\sqrt{a+bu}+C$

18. $\displaystyle\int \cfrac{u^2\mathrm{d}u}{\sqrt{a+bu}}=\cfrac{2}{15b^3}(3b^2u^2-4abu+8a^2)\sqrt{a+bu}+C$

19. $\displaystyle\int\cfrac{u^n\mathrm{d}u}{\sqrt{a+bu}}=\cfrac{2u^n\sqrt{a+bu}}{b(2n+1)}-\cfrac{2an}{b(2n+1)}\displaystyle\int\cfrac{u^{n-1}\mathrm{d}u}{\sqrt{a+bu}}$

20. $\displaystyle\int\cfrac{\mathrm{d}u}{u\sqrt{a+bu}} = \begin{cases}  \cfrac{1}{\sqrt{a}}\ln \left|\cfrac{\sqrt{a+bu}-\sqrt{a}}{\sqrt{a+bu}+\sqrt{a}}\right|+C & (a>0) \\ \cfrac{2}{\sqrt{-a}}\tan^{-1}\sqrt{\cfrac{a+bu}{-a}}+C & (a<0) \end{cases}$

21. $\displaystyle\int\cfrac{\mathrm{d}u}{u^n\sqrt{a+bu}}=-\cfrac{\sqrt{a+bu}}{a(n-1)u^{n-1}}-\cfrac{b(2n-3)}{2a(n-1)}\displaystyle\int\cfrac{\mathrm{d}u}{u^{n-1}\sqrt{a+bu}}$

22. $\displaystyle\int\cfrac{\sqrt{a+bu}\mathrm{d}u}{u}=2\sqrt{a+bu}+a\displaystyle\int\cfrac{\mathrm{d}u}{u\sqrt{a+bu}}$

23. $\displaystyle\int\cfrac{\sqrt{a+bu}\mathrm{d}u}{u^n}=-\cfrac{(a+bu)^{\cfrac{3}{2}}}{a(n-1)u^{n-1}}-\cfrac{b(2n-5)}{2a(n-1)}\displaystyle\int\cfrac{\sqrt{a+bu}\mathrm{d}u}{u^{n-1}}$

Integrals Containing $a^2\pm u^2$ $(a>0)$


24. $\displaystyle\int\cfrac{\mathrm{d}u}{a^2+u^2}=\cfrac{1}{a}\tan ^{-1}\cfrac{u}{a}+C$

25. $\displaystyle\int\cfrac{\mathrm{d}u}{a^2-u^2}=\cfrac{1}{2a}\ln\left|\cfrac{u+a}{u-a}\right| +C$

26. $\displaystyle\int\cfrac{\mathrm{d}u}{u^2-a^2}=\cfrac{1}{2a}\ln\left|\cfrac{u-a}{u+a}\right|+C$


[PDF]2544 แนวข้อสอบ นักเรียนเตรียมทหาร นายร้อยพระจุลจอมเกล้า (นายร้อย จปร.) วิชาภาษาไทยและสังคมศึกษา 12 ข้อ พร้อมเฉลย ฟรี

แนวข้อสอบ นักเรียนเตรียมทหาร นายร้อยพระจุลจอมเกล้า (นายร้อย จปร.) วิชาภาษาไทยและสังคมศึกษา 12 ข้อ พร้อมเฉลย ฟรี


แนวข้อสอบวิชาภาษาไทย และสังคมศึกษาุดนี้ จัดทำโโยอ้างอิงจากข้อสอบนายร้อย จปร สอบเข้าเตรียมทหาร ปี พ.ศ. 2544 มีจำนวนข้อสอบ 12 ข้อ พร้อมเฉลย น้องๆสามารถดาวน์โหลดแล้วนำไปทดสอบฝึกฝนได้ด้วยตัวเองโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆทั้งสิ้นครับ โดยเนื้อหาของข้อสอบชุดนี้ครอบคลุม ชันมัธยมศึกษา ปี ที่ 4 ครับ








ผิดพลาดประการใดฝากแจ้งกลับทางคอมเมนต์ หรือไม่ก็แจ้งกลับทาง Email ที่ช่องส่งข้อมูลแถบด้านขวาล่างสุดได้เลยนะครับ สามารถติชม หรือส่งความคิดเห็นมาได้เพื่อจะได้นำไปปรับปรุงให้ดีขึ้นยิ่งขึ้นไปครับ

ถ้าผู้ใดเห็นว่าบทความไม่เหมาะสมแจ้งผมไว้ด้วยนะครับ


ถ้าสนใจข้อมูลเพิ่มเติมสามารถติดตามเราได้ที่

Google +

เพิ่มเพื่อน Line

YouTube

Fan Page

Sunday, 19 November 2017

[PDF]ข้อสอบเก่า ONET วิชาคณิตศาตร์ พ.ศ. 2549 จำนวน 42 ข้อ พร้อมเฉลย

ข้อสอบ ONET วิชาคณิตศาสตร์ พ.ศ. 2549 จำนวน 42 ข้อ พร้อมเฉลย .pdf




รหัสวิชา 04 วิชา คณิตศาสตร์

สอบวันเสาร์ที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 เวลา 08:30 ถึง 10:30
ตำอธิบาย
1. ข้อสอบ มี 2 ตอน  ตอนที่ 1 ข้อสอบปรนัย 4 ตัวเลือก จำนวน  32 ข้อ
                                 ตอนที่ 2 ข้อสอบอัตนัย                 จำนวน 10  ข้อ
2. ก่อนตอบคำถาม จงเขียนชื่อ-นามสกุล เลขที่นั่งสอบ สถานที่สอบ และห้องสอบ ลงในข้อสอบ
3. จงเขียนชื่อ นามสกุล วิชาที่สอบ วันที่ สอบ สถานที่สอบ ห้องสอบ เลขที่บัตรประจำตัวประชาชน รหัสวิชาและเลขที่นั่งสอบ ในกระดาษใบตอบ พร้อมทั้งขีดเครื่องหมายกากบาททับตัวเลขในช่องสี่เหลี่ยมที่กำหนดไว้ให้ตรงกับตัวเลขที่เขียนด้วยปากกาลูกลื่นหมึกดำ
4. ในการตอบ ให้ใช้ปากกาลูกลื่นหมึกดำ ขนาด 0.5 มิลลิเมตรขึ้นไป
ตอนที่ 1   ให้ขีดเครื่องหมายกากบาททับตัวเลขในช่องสี่เหลี่ยมที่ตรงกับคำตอบที่ท่านเลือกในกระดาศคำตอบ ห้ามขีดนอกช่องสี่เหลี่ยม) ในแต่ละข้อมีคำตอบที่ถูกต้องหรือเหมาะสมที่สุดเพียงคำตอบเดียว

ตอนที่ 2   ให้เขียนตัวเลขที่เป็นคำตอบลงในช่องว่างสี่เหลี่ยมที่กำหนดให้ของแต่ละข้อในกระดาษคำตอบ ตอนที่ 2 ให้ชัดเจน ตามคำแนะนำในกระดาษคำตอบ

5. ห้ามนำข้อสอบและกระดาษคำตอบออกจากห้องสอบ
6. ไม่อนุญาตให้ผู้เข้าสอบออกจากห้องสอบก่อนเวลาสอบผ่านไป 1 ชั่วโมง 30 นาที


ผิดพลาดประการใดต้องขออภัยไว้ด้วยนะครับ หรือต้องการให้พี่แก้ไขหรือปรับปรุงอะไรช่วยแจ้งได้ที่ใต้คอมเมนต์ด้านล่างนี้นะครับ และเพื่อเป็นกำลังใจ ช่วยแชร์ หรือกดติดตามพี่ได้ทุกช่องทาง เลยนะครับ

ถ้าสนใจข้อมูลเพิ่มเติมสามารถติดตามเราได้ที่

Google +

เพิ่มเพื่อน Line

YouTube

Fan Page

[PDF] แนว ข้อสอบนักเรียนนายร้อยตำรวจ พ.ศ. 2537 นักเรียนเตรียมทหาร วิชาคณิตศาสตร์ ข้อสอบ นายร้อย พร้อมเฉลยฟรี

แนวข้อสอบ นายร้อยตำรวจ นักเรียนเตรียมทหาร ข้อสอบนายร้อย วิชาคณิตศาสตร์ 40 ข้อ พร้อมเฉลย พ.ศ. 2537.pdf

พร้อมเฉลย น้องๆสามารถดาวน์โหลดไฟล์ไปทดลองฝึกทำกันได้นะครับ ฟรีไม่เสียค่าใช้จ่ายนะครับ



แนวข้อสอบ สอบเข้าโรงเรียนนายร้อยตำรวจ โรงเรียนเตรียมทหาร วิชาคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลยสามารถดาวน์โหลดได้ฟรีครับ ไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆทั้งสิ้น


น้องๆทุกคนสามารถดาวน์โหลดไปให้เพื่อนหรือแชร์ไปให้เพื่อนก็ได้นะครับ ถ้าผิดพลาดประการใดฝากแจ้งมาทางคอมเมนต์ หรือไม่เหมาะสมประการใดแจ้งผมแล้วผมจะตรวจสอบและดำเนินการแก้ไขให้เพื่อความเรียบร้อยครับ เอกสารที่ผมจัดทำขึ้นทำด้วยความตั้งใจปราณีตที่สุดเท่าที่จะทำได้เพื่อให้น้องๆได้รับประสบการณ์การอ่านที่ดีครับ (ที่ต้องใส่ลายน้ำเพราะมีบางบุคคลนำไปเพื่อมุ่งหวังทางการค้าครับ)

ระเบียบการและคุณสมบัติของผู้สมัคร (สามารถอ่านเพิ่มเติมได้ที่ คลิก)
     ผู้สมัครเข้าเป็นนักเรียนเตรียมทหาร ในส่วนของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ต้องมีความรู้พื้นฐานและคูรสมบัติดังต่อไปนี้
     1. สำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 (ม.4) หลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการ หรือเทียบเท่า
     2. อายุไม่ต่ำกว่า 15 ปีบริบูรณ์และไม่เกิน 18 ปีบริบูรณ์ ในปีที่จะเข้ารับการศึกษาเป็นนักเรียนเตรียมทหาร การนับอายุให้นับตามกฎหมายว่าด้วยการรรับราชการทหาร (นับปีชนปี)
     3. มีสัญชาติไทยโดยกำเนิด และบิดามารดามีสัฐชาติไทยโดยกำเนิด แต่ถ้าบิดาเป็นนายทหารสัญญาบัตร นายตำรวจสัญญาบัตร หรือนายทหารประทวน หรือนายตำรวจประทวน ซึ่งมีสัญชาติไทยโดยกำเนิดแล้ว มารดาจะมิใช่ผู้มีสัญชาติไทยโดยกำเนินก็ได้
     4. มีอวัยวะ รูปร่าง ลักษณะท่าทาง ขนาดร่างกายเหมาะสมแก่การเป็นทหารหรือตำรวจไม่เป็นโรคตามที่กำหนดไว้ในกฎกระทรวงออกตามความในกฎหมายและระเบียบว่าด้วยการรับราชการทหารตำรวจ 
     5. เป็นชายโสด ไม่เคยมีความประพฤติเสื่อมเสียทางเพศ หรือติดต่อได้เสียกับหญิงถึงขั้นที่จะถือว่าเป็นผู้มีภรรยา
     6. เป็นผู้มีความประพฤตเรียบร้อย ไม่บกพร่องในศีลธรรมอันดี มีอุดมการณ์เลื่อมใสในระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขและมีผู้ปกครองดูแลความประพฤติ
     7. ไม่เป็นผู้มีหนี้สินล้นพ้นตัว และไม่เคยเป็นบุคคลล้มละลาย
     8. ไม่เป็นผู้ต้องรับโทษจำคุกคำพิพากษาคดีถึงที่สุดให้จำคุก เว้นแต่เป็นโทษสำหรับความผิดที่กระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
     9. ไม่เป็นผู้ที่อยู่ระหว่างพักราชการ หรือหนีราชการ
     10. ไม่เป็นผู้ที่เคยถูกไล่ออกจากโรงเรียน หรือถูกปลดออกเพราะความผิด หรือถูกไล่ออกจากราชการ
     11. ไม่เป็นผู้เสพยาเสพติด หรือสารเคมีเสพติดให้โทษที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
     12. บิดา มารดา และผู้ปกครอง เป็นผู้มีอาชีพสุจริตอันชอบธรรม หรือมีหลักฐานเชื่อถือได้
     13. เป็นผู้ได้รับอนุญาตจากบิดามารดา หรือผู้ปกครองให้สมัครเข้าเป็นนักเรียนเตรียมทหาร
     14. ต้องมีผู้ปกครองหรือผู้รับรอง ซึ่งสามารถรับรองข้อความและพันธกรณี ตามที่ทางราชการกำหนด
     15. ต้องไม่มีพันธกรณีผู้พันกับองค์กรของรัฐบาลหรือเอกชน อันจะเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
     16. ไม่เป็นผู้ที่เคยทุจริตในการสมัครหรือในการสอบคัดเลือกมาแล้ว
     17. ไม่เป็นผู้ที่ออกจากโรงเรียนเตรียมทหาร เพราะความประพฤตบกพร่อง หรือ ลาออก
     18. พื้นความรู้และคุณสมบัติดังกล่าวนี้ แม้ปรากฏว่าเป็นเท็จขึ้นภายหลังที่รับเข้าเป็นนักเรียนเตรียมทหารแล้วก็ตามจะต้องออกจากความเป็นนักเรียนเตรียมทหารทันที

ผู้ไม่มีสิทธิสมัครเข้าเป็นนักเรียนเตรียมทหาร
     ผู้ไม่มีคุณสมบัติ และลักษณะครบตามที่ระบุไว้ขั้นต้น

การสอบรอบแรก ภาควิชาการ
     1. วิชาวิทยาศาสตร์
     2. วิชาคณิตศาสตร์
     3. วิชาภาษาอังกฤษ
     4. วิชาภาษาไทยและวิชาสังคมศึกษา

การสอบรอบสอง
     เป็นการตรวจร่างกาย ทดสอบบุคลิกภาพ ตรวจสอบประวัติ สอบพลศึกษา วัดขนาดร่างกาย และสอบสัมภาษณ์

การสอบพลศึกษา มี 8 ประเภทดังนี้
     1. ดึงข้อราวเดี่ยว
     2. ลุกนั้ง 30 วินาที
     3. นั่งงอตัว
     4. วิ่งระยะสั้น (50 เมตร)
     5. วิ่งระยะไกล (1,000 เมตร)
     6. ว่ายน้ำ (50 เมตร)
     7. ยืนกระโดดไกล
     8. วิ่งกลับตัว (วิ่งเก็บของ)

ถ้าสนใจข้อมูลเพิ่มเติมสามารถติดตามเราได้ที่

Google +

เพิ่มเพื่อน Line

YouTube

Fan Page

Saturday, 18 November 2017

[PDF]แนวข้อสอบ นักเรียนเตรียมทหาร นายร้อยพระจุลจอมเกล้า (นายร้อย จปร.) วิชาภาษาอังกฤษ 20 ข้อ พร้อมเฉลย ฟรี

แนวข้อสอบ นักเรียนเตรียมทหาร ข้อสอบนายร้อย พระจุลจอมเกล้า (นายร้อย จปร. ) วิชาภาษาอังกฤษ  20 ข้อ พร้อมเฉลย.pdf

แนวข้อสอบวิชาภาษาอังกฤษชุดนี้ จัดทำโดยอ้างอิงจากข้อสอบนายร้อย จปร. ปี 2543 มีจำนวนข้อสอบ 20 ข้อ น้องๆสามารถดาวน์โหลดแล้วนำไปทดสอบได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆทั้งสิ้นนะครับ โดยเนื้อหาครอบคลุมระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4




ผิดพลาดประการใดฝากแจ้งกลับทางคอมเมนต์ หรือไม่ก็แจ้งกลับทาง Email ที่ช่องส่งข้อมูลแถบด้านขวาล่างสุดได้เลยนะครับ สามารถติชม หรือส่งความคิดเห็นมาได้เพื่อจะได้นำไปปรับปรุงให้ดีขึ้นยิ่งขึ้นไปครับ

ถ้าผู้ใดเห็นว่าบทความไม่เหมาะสมแจ้งผมไว้ด้วยนะครับ


ถ้าสนใจข้อมูลเพิ่มเติมสามารถติดตามเราได้ที่

Google +

เพิ่มเพื่อน Line

YouTube

Fan Page

[PDF]แนวข้อสอบ เก่า สอบเข้ามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ข้อสอบ มช. โควตา มช. วิชาคณิตศาสตร์ พ.ศ.2557 จำนวน 30 ข้อพร้อมเฉลย

ข้อสอบ สอบเข้ามหาวิทยาลัยเลียงใหม่ ข้อสอบ โควตา มช. วิชาคณิตศาสตร์ (สวายวิทย์) พ.ศ. 2557 จำนวน 30 ข้อ พร้อมเฉลย.pdf




ข้อสอบการสอบคัดเลือกนักเรียนในเขตพัฒนาภาคเหนือเพื่อเข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยของรัฐและเอกชน ปีการศึกษา 2537  ข้อสอบคณิตศาสตร์  จำนวน 40 ข้อ พร้อมเฉลย

ข้อสอบ ตอนที่ 1 แบบให้คิดคำนวณ ให้นำคำตอบที่ถูกต้อง โดยใช้ทศนิยมสองตำแหน่งไม่ปัดตัวเลข
ข้อสอบ ตอนที่ 2 ข้อสอบแบบเลือกตอบ แต่ละข้อจะมีคำตอบให้เลือก 4 คำตอบ คือ 1 2 3 4 ให้พิจารณาเลือกคำตอบที่เห็นว่า ถูกต้องที่สุดหรือเหมาะสมทืี่สุดเพียงคำตอบเดียว 



ถ้าผิดพลาดประการใดหรือไม่เหมาะสม รบกวนน้องๆ หรือผู้ที่สนใจคอมเมนต์ใต้ล่างนี้ได้เลยนะครับเพื่อจะได้นำไปปรับปรุงเนื้อหา และความเหมาะสมได้ในอนาคต

ขอความร่วมมือผู้ที่สนใจสามารถแชร์ไปให้เพื่อนๆ หรือไม่ก็ดาวน์โหลดไปฝึกฝนได้ด้วยตัวเอง ผมไม่ได้จัดทำเพื่อการค้าครับแต่ผมรบกวนอย่านำไปทำเพื่อการค้านะครับ

ถ้าชอบบทความนี้ฝากกดติดตาม ได้ทุกช่องทางด้านล่างนี้นะครับ

ถ้าสนใจข้อมูลเพิ่มเติมสามารถติดตามเราได้ที่




Friday, 17 November 2017

[PDF][VIDEO] แนว ข้อสอบนักเรียนนายร้อยตำรวจ พ.ศ. 2538 นักเรียนเตรียมทหาร วิชาภาษาอังกฤษ ข้อสอบ นายร้อย พร้อมวิดีโอเฉลยฟรี

แนวข้อสอบ นายร้อยตำรวจ นักเรียนเตรียมทหาร ข้อสอบนายร้อย วิชาภาษาอังกฤษ 20 ข้อ พร้อมเฉลย พ.ศ. 2538.pdf พร้อมวิดีโอเฉลย

พร้อมเฉลย น้องๆสามารถดาวน์โหลดไฟล์ไปทดลองฝึกทำกันได้นะครับ ฟรีไม่เสียค่าใช้จ่ายนะครับ



แนวข้อสอบ สอบเข้าโรงเรียนนายร้อยตำรวจ โรงเรียนเตรียมทหาร วิชาภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลยสามารถดาวน์โหลดได้ฟรีครับ ไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆทั้งสิ้น

น้องๆทุกคนสามารถดาวน์โหลดไปให้เพื่อนหรือแชร์ไปให้เพื่อนก็ได้นะครับ ถ้าผิดพลาดประการใดฝากแจ้งมาทางคอมเมนต์ หรือไม่เหมาะสมประการใดแจ้งผมแล้วผมจะตรวจสอบและดำเนินการแก้ไขให้เพื่อความเรียบร้อยครับ เอกสารที่ผมจัดทำขึ้นทำด้วยความตั้งใจปราณีตที่สุดเท่าที่จะทำได้เพื่อให้น้องๆได้รับประสบการณ์การอ่านที่ดีครับ (ที่ต้องใส่ลายน้ำเพราะมีบางบุคคลนำไปเพื่อมุ่งหวังทางการค้าครับ)



ดูวิดีโอเฉลยข้อสอบ นายร้อยตำรวจ ภาษาอังกฤษ พ.ศ. 2538
คลิ๊กดูวิดีโอ

ระเบียบการและคุณสมบัติของผู้สมัคร (สามารถอ่านเพิ่มเติมได้ที่ คลิก)
     ผู้สมัครเข้าเป็นนักเรียนเตรียมทหาร ในส่วนของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ต้องมีความรู้พื้นฐานและคูรสมบัติดังต่อไปนี้
     1. สำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 (ม.4) หลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการ หรือเทียบเท่า
     2. อายุไม่ต่ำกว่า 15 ปีบริบูรณ์และไม่เกิน 18 ปีบริบูรณ์ ในปีที่จะเข้ารับการศึกษาเป็นนักเรียนเตรียมทหาร การนับอายุให้นับตามกฎหมายว่าด้วยการรรับราชการทหาร (นับปีชนปี)
     3. มีสัญชาติไทยโดยกำเนิด และบิดามารดามีสัฐชาติไทยโดยกำเนิด แต่ถ้าบิดาเป็นนายทหารสัญญาบัตร นายตำรวจสัญญาบัตร หรือนายทหารประทวน หรือนายตำรวจประทวน ซึ่งมีสัญชาติไทยโดยกำเนิดแล้ว มารดาจะมิใช่ผู้มีสัญชาติไทยโดยกำเนินก็ได้
     4. มีอวัยวะ รูปร่าง ลักษณะท่าทาง ขนาดร่างกายเหมาะสมแก่การเป็นทหารหรือตำรวจไม่เป็นโรคตามที่กำหนดไว้ในกฎกระทรวงออกตามความในกฎหมายและระเบียบว่าด้วยการรับราชการทหารตำรวจ 
     5. เป็นชายโสด ไม่เคยมีความประพฤติเสื่อมเสียทางเพศ หรือติดต่อได้เสียกับหญิงถึงขั้นที่จะถือว่าเป็นผู้มีภรรยา
     6. เป็นผู้มีความประพฤตเรียบร้อย ไม่บกพร่องในศีลธรรมอันดี มีอุดมการณ์เลื่อมใสในระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขและมีผู้ปกครองดูแลความประพฤติ
     7. ไม่เป็นผู้มีหนี้สินล้นพ้นตัว และไม่เคยเป็นบุคคลล้มละลาย
     8. ไม่เป็นผู้ต้องรับโทษจำคุกคำพิพากษาคดีถึงที่สุดให้จำคุก เว้นแต่เป็นโทษสำหรับความผิดที่กระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
     9. ไม่เป็นผู้ที่อยู่ระหว่างพักราชการ หรือหนีราชการ
     10. ไม่เป็นผู้ที่เคยถูกไล่ออกจากโรงเรียน หรือถูกปลดออกเพราะความผิด หรือถูกไล่ออกจากราชการ
     11. ไม่เป็นผู้เสพยาเสพติด หรือสารเคมีเสพติดให้โทษที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
     12. บิดา มารดา และผู้ปกครอง เป็นผู้มีอาชีพสุจริตอันชอบธรรม หรือมีหลักฐานเชื่อถือได้
     13. เป็นผู้ได้รับอนุญาตจากบิดามารดา หรือผู้ปกครองให้สมัครเข้าเป็นนักเรียนเตรียมทหาร
     14. ต้องมีผู้ปกครองหรือผู้รับรอง ซึ่งสามารถรับรองข้อความและพันธกรณี ตามที่ทางราชการกำหนด
     15. ต้องไม่มีพันธกรณีผู้พันกับองค์กรของรัฐบาลหรือเอกชน อันจะเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
     16. ไม่เป็นผู้ที่เคยทุจริตในการสมัครหรือในการสอบคัดเลือกมาแล้ว
     17. ไม่เป็นผู้ที่ออกจากโรงเรียนเตรียมทหาร เพราะความประพฤตบกพร่อง หรือ ลาออก
     18. พื้นความรู้และคุณสมบัติดังกล่าวนี้ แม้ปรากฏว่าเป็นเท็จขึ้นภายหลังที่รับเข้าเป็นนักเรียนเตรียมทหารแล้วก็ตามจะต้องออกจากความเป็นนักเรียนเตรียมทหารทันที

ผู้ไม่มีสิทธิสมัครเข้าเป็นนักเรียนเตรียมทหาร
     ผู้ไม่มีคุณสมบัติ และลักษณะครบตามที่ระบุไว้ขั้นต้น

การสอบรอบแรก ภาควิชาการ
     1. วิชาวิทยาศาสตร์
     2. วิชาคณิตศาสตร์
     3. วิชาภาษาอังกฤษ
     4. วิชาภาษาไทยและวิชาสังคมศึกษา

การสอบรอบสอง
     เป็นการตรวจร่างกาย ทดสอบบุคลิกภาพ ตรวจสอบประวัติ สอบพลศึกษา วัดขนาดร่างกาย และสอบสัมภาษณ์

การสอบพลศึกษา มี 8 ประเภทดังนี้
     1. ดึงข้อราวเดี่ยว
     2. ลุกนั้ง 30 วินาที
     3. นั่งงอตัว
     4. วิ่งระยะสั้น (50 เมตร)
     5. วิ่งระยะไกล (1,000 เมตร)
     6. ว่ายน้ำ (50 เมตร)
     7. ยืนกระโดดไกล
     8. วิ่งกลับตัว (วิ่งเก็บของ)

ถ้าสนใจข้อมูลเพิ่มเติมสามารถติดตามเราได้ที่

Google +

เพิ่มเพื่อน Line

YouTube

Fan Page

Friday, 10 November 2017

[PDF]แนว ข้อสอบเก่า รับตรง มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ข้อสอบ มข. โควตา มข.) วิชาคณิตศาสตร์ (วิทย์) พ.ศ.2551 พร้อมเฉย

แนวข้อสอบ สอบเข้ามหาวิทยาลัยขอนแก่น (ข้อสอบ มข. โควตา มข.) วิชาคณิตศาสตตร์ 2551 พร้อมเฉลย .pdf 




ข้อสอบคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษา ในมหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยวิธีรับตรง ประจำปีการศึกษา 2551 
ใช้เวลาสอบ 2 ชม. 

ถ้าผิดพลาดประการใดขออภยไว้นะที่นี้ด้วยนะครับ 

ฝากกดแชร์คอมเมนต์เพื่อเป็นกำลังใจ ติชมคอมเมนต์ได้ที่ด้านล่างนี้นะครับ



ถ้าผิดพลาดประการใดหรือไม่เหมาะสม รบกวนน้องๆ หรือผู้ที่สนใจคอมเมนต์ใต้ล่างนี้ได้เลยนะครับเพื่อจะได้นำไปปรับปรุงเนื้อหา และความเหมาะสมได้ในอนาคต

ขอความร่วมมือผู้ที่สนใจสามารถแชร์ไปให้เพื่อนๆ หรือไม่ก็ดาวน์โหลดไปฝึกฝนได้ด้วยตัวเอง ผมไม่ได้จัดทำเพื่อการค้าครับแต่ผมรบกวนอย่านำไปทำเพื่อการค้านะครับ

ถ้าชอบบทความนี้ฝากกดติดตาม ได้ทุกช่องทางด้านล่างนี้นะครับ

ถ้าสนใจข้อมูลเพิ่มเติมสามารถติดตามเราได้ที่




Fan Page

สายวิทย์ 

Thursday, 9 November 2017

[PDF]แนวข้อสอบ เก่า สอบเข้ามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ข้อสอบ มช. โควตา มช. วิชาคณิตศาสตร์ พ.ศ.2537 จำนวน 40 ข้อพร้อมเฉลย

ข้อสอบ สอบเข้ามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ข้อสอบ มช. โควตา วิชาคณิตศาสตร์ (สายวิทย์)  พ.ศ.2537 จำนวน 40 ข้อพร้อมเฉลย.pdf




ข้อสอบการสอบคัดเลือกนักเรียนในเขตพัฒนาภาคเหนือเพื่อเข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยของรัฐและเอกชน ปีการศึกษา 2537  ข้อสอบคณิตศาสตร์  จำนวน 40 ข้อ พร้อมเฉลย

ข้อสอบ ตอนที่ 1 ข้อสอบแบบเลือกตอบ แต่ละข้อจะมีคำตอบให้เลือก 4 คำตอบ คือ 1 2 3 4 ให้พิจารณาเลือกคำตอบที่เห็นว่า ถูกต้องที่สุดหรือเหมาะสมทืี่สุดเพียงคำตอบเดียว 
ข้อสอบ ตอนที่ 2 แบบให้คิดคำนวณ ให้นำคำตอบที่ถูกต้อง โดยใช้ทศนิยมสองตำแหน่งไม่ปัดตัวเลข 


ถ้าผิดพลาดประการใดหรือไม่เหมาะสม รบกวนน้องๆ หรือผู้ที่สนใจคอมเมนต์ใต้ล่างนี้ได้เลยนะครับเพื่อจะได้นำไปปรับปรุงเนื้อหา และความเหมาะสมได้ในอนาคต

ขอความร่วมมือผู้ที่สนใจสามารถแชร์ไปให้เพื่อนๆ หรือไม่ก็ดาวน์โหลดไปฝึกฝนได้ด้วยตัวเอง ผมไม่ได้จัดทำเพื่อการค้าครับแต่ผมรบกวนอย่านำไปทำเพื่อการค้านะครับ

ถ้าชอบบทความนี้ฝากกดติดตาม ได้ทุกช่องทางด้านล่างนี้นะครับ

ถ้าสนใจข้อมูลเพิ่มเติมสามารถติดตามเราได้ที่




[PDF]แนวข้อสอบ เก่า สอบเข้ามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ข้อสอบ มช. โควตา มช. วิชาคณิตศาสตร์ 1 พ.ศ.2552 จำนวน 30 ข้อพร้อมเฉลย

ข้อสอบ สอบเข้ามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ข้อสอบ มช. โควตา วิชาคณิตศาสตร์ 1 พ.ศ.2552 จำนวน 30 ข้อพร้อมเฉลย.pdf




ข้อสอบการสอบคัดเลือกนักเรียนในเขตพัฒนาภาคเหนือเพื่อเข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยของรัฐและเอกชน ปีการศึกษา 2552 ข้อสอบ 05 คณิตศาสตร์ 1 จำนวน 30 ข้อ พร้อมเฉลย เวลาที่ใช้ในการทดสอบ จำนวน 2 ชม.

ข้อสอบ ตอนที่ 1 แบบให้คิดคำนวณ ให้นำคำตอบที่ถูกต้อง โดยใช้ทศนิยมสองตำแหน่งไม่ปัดตัวเลข 
ข้อสอบ ตอนที่ 2 ข้อสอบแบบเลือกตอบ แต่ละข้อจะมีคำตอบให้เลือก 4 คำตอบ คือ 1 2 3 4 ให้พิจารณาเลือกคำตอบที่เห็นว่า ถูกต้องที่สุดหรือเหมาะสมทืี่สุดเพียงคำตอบเดียว 





ถ้าผิดพลาดประการใดหรือไม่เหมาะสม รบกวนน้องๆ หรือผู้ที่สนใจคอมเมนต์ใต้ล่างนี้ได้เลยนะครับเพื่อจะได้นำไปปรับปรุงเนื้อหา และความเหมาะสมได้ในอนาคต

ขอความร่วมมือผู้ที่สนใจสามารถแชร์ไปให้เพื่อนๆ หรือไม่ก็ดาวน์โหลดไปฝึกฝนได้ด้วยตัวเอง ผมไม่ได้จัดทำเพื่อการค้าครับ

ถ้าชอบบทความนี้ฝากกดติดตาม ได้ทุกช่องทางด้านล่างนี้นะครับ

ถ้าสนใจข้อมูลเพิ่มเติมสามารถติดตามเราได้ที่

Google +

เพิ่มเพื่อน Line

YouTube

Fan Page